Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56794
Title: Propane/propylene separation by adsorption using Cu⁺ on faujasite zeolites
Other Titles: การแยกโพรเพนและโพรพิลีนโดยกระบวนการดูดซับด้วยซีโอไลท์ประเภทฟอจาไซท์ที่ประกอบด้วย Cu⁺
Authors: Pramoch Rangsunvigit
Santi Kulprathipanja
Pattaraporn Sridechprasat
Natthapat Puttapatimok
Other author: Chulalongkorn University. Petroleum and Petrochemical College
Subjects: Propane -- Separation
Propane -- Absorption and adsorption
Zeolites
โพรเพน -- การแยก
โพรเพน -- การดูดซึมและการดูดซับ
ซีโอไลต์
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Effects of three different reduction environments on the preparation of Cu(I)X and Cu(I)Y zeolites and their adsorption selectivities towards propylene were investigated. NaX and NaY zeolites were ion exchanged with ammoniacal copper solution before they were reduced with 1 h of ammonia flow, 2 h of ammonia flow, or 1 h of hydrogen flow. Results from inductively couple plasma indicated that there was an incomplete exchange between Cu+ and Na+, which may be from the limitation of this preparation method. The x-ray photoelectron spectroscopy results showed that all reduction methods provided the zeolite with the amount of Cu+ and Cu²⁺. The breakthrough study was used to investigate the propylene adsorption of the prepared zeolites. Although the results showed that the zeolites selectively adsorbed propylene, which was contributed by the π-complex formation between the Cu+ and propylene, it was postulated in this work that there must be a certain exchange degree in the zeolites for the effects of the π-complexation to show any noticeable preferential adsorption towards propylene. The spent zeolites were regenerated and tested for their reusability. It was shown that there was a decrease in the adsorption capacities of the regenerated zeolites. In addition, Cu+ on the Cu(I)Y zeolite was less stable and more susceptible than that on the Cu(I)X zeolite.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของการรีดักชันต่อการสังเคราะห์คอปเปอร์ (I) เอ็กซ์และคอปเปอร์(I)วายซีโอไลท์ และผลของกระบวนการดูดซับดพรพิลีนด้วยซีโอไลท์ที่เตรียมขึ้น ในการเตรียมซีโอไลท์ข้างต้นทำโดยการแลกเปลี่ยนประจุจากโซเดียมเอ็กซ์ และโซเดียมวายซีโอไลท์ ด้วยสารละลายคอปเปอร์ในแอมโมเนียก่อนที่จะผ่านวิธีการรีดักชั่นที่ต่างกันสามชนิดดังต่อไปนี้ การไหลผ่านตัวดูดซับด้วยไอของแอมโมเนียเป็นเวลา 1 ชั่วโมง การไหลผ่านตัวดูดซับด้วยไอของแอมโมเนียเป็นเวลา 2 ชั่วโมง และการไหลผ่านตัวดูดซับด้วยก๊าซ ไฮโดรเจนเป็นเวลา 1 ชั่วโมง ผลจากเทคนิค อินดักทีฟลี คับเปิ้ล พลาสม่า (ไอซีพี) พบว่าการแลกเปลี่ยนประจุระหว่าง คอปเปอร์ และโซเดียมในโครงสร้างของซีโอไลตเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากข้อจำกัดของกระบวนการสังเคราะห์ตัวดูดซับ ผลจากเทคนิค เอ๊กซ์เรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (เอ๊กซ์พีเอส) พบว่า ซีโอไลต์ที่ผ่านวิธีการรีดักชันทั้งสามชนิดมีคอปเปอร์ (I) ร่วมอยู่กลับ คอปเปอร์ (II) บนโครงสร้างของซีโอไลต์ ได้มีการทดลองโดยใช้เทคนิคเบรคทรูสำหรับศึกษากระบวนกระดูดซับโพรพิลีนของตัวดูดซับที่เตรียมขึ้น ซึ่งผลการทดลองพบว่า ตัวดูดซับเลือกดูดซับโพรพิลีนซึ่งเป็นผลของ ไพ คอมเพล็กซ์ ที่เกิดขึ้นระหว่าง คอปเปอร์ (I) และ โพรพิลีน นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณการแลกเปลี่ยนประจุบนโครงสร้างของซีโอไลต์มีผลต่อ ไพ คอมเพล็กซ์ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการดูดซับโพรพิลีน ได้มีการนำตัวดูดซับที่ผ่านกระบวนการดูดซับแล้วมาใช้ใหม่เพื่อทดสอบความคงทนและความสามารถในการนำกลับมาใช้ใหม่ของตัวดูดซับ จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ความสามารถในการดูดซับโพรพิลีนของตัวดูดซับลดลง ยิ่งไปกว่านั้น คอปเปอร์ (I) บนโครงสร้างของคอปเปอร์ (I) วายซีโอไลต์ มีความคงทน น้อยกว่า คอปเปอร์ (I) บนโครงสร้างของคอปเปอร์ (I) เอ็กซ์ซีโอไลต์หลังจากผ่านการใช้เป็นตัวดูดซับ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56794
Type: Technical Report
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pramoch_Ra_016742.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.