Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดา ธนิตกุล-
dc.contributor.authorอารยา วรัญญาพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-02-27T09:33:33Z-
dc.date.available2018-02-27T09:33:33Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57285-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractปัจจุบันการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศมีการเจริญเติบโตขึ้นอย่างมาก ทำให้พฤติกรรมจำกัดการแข่งขันมีลักษณะเกี่ยวโยงกับหลายประเทศมากขึ้นด้วย เพื่อเป็นการป้องกันการจำกัดการแข่งขัน ประเทศต่างๆ จึงได้ทำสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อความร่วมมือใน การป้องกันการจำกัดการแข่งขันทางการค้า ประเทศไทยสามารถศึกษาเปรียบเทียบจุดอ่อน จุดแข็งของสนธิสัญญาดังกล่าว เพื่อใช้เป็นแนวทางของการจัดทำข้อตกลงเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ การแข่งขันทางการค้าในความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยได้ ความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีอาจทำได้หลายรูปแบบทั้งแบบที่กำหนดวิธีการปฏิบัติอย่างละเอียด และที่กำหนดการปฏิบัติตามความตกลงเป็นแบบทั่วไป ซึ่งจะทำในรูปแบบใดนั้นต้องพิจารณาถึงอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศคู่ภาคีด้วย หลักเกณฑ์ต่างๆ ใน ความ ตกลงของสนธิสัญญาของแต่ละประเทศนั้นก็มีความแตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งเป็นหลายระดับความร่วมมือ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนข้อมูล การสืบสวนหาพยานหลักฐานแทนประเทศคู่ภาคีอีกฝ่าย Negative Comity Positive Comity และการให้ความร่วมมือตามสนธิสัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน สำหรับรูปแบบของความตกลงที่เหมาะสมกับประเทศไทยนั้นคือรูปแบบการตกลงให้ความร่วมมือที่เป็นการทั่วไป ไม่มีผลผูกพัน และอยู่ในระดับการแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งเป็นความร่วมมือแบบไม่ลึกซึ้งเท่านั้น การทำความตกลงในรูปแบบดังกล่าวจะทำให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนข้อมูลจากประเทศอื่น และไม่มีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามรายละเอียดในความตกลงที่อาจทำให้ประเทศไทยเสียเปรียบได้ อย่างไรก็ตามในอนาคตเมื่อประเทศไทยมีความพร้อม และประสบการณ์ในการดำเนินคดีกับพฤติกรรมจำกัดการแข่งขันระหว่างประเทศมากขึ้น ประเทศไทยก็อาจทบทวนเพื่อทำความตกลงในระดับที่มีความลึกซึ้งมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeInternational trade and investment have expanded significantly nowadays; as a result, the restrictive business practice became more complex – involving many countries at the same time. In an attempt to eliminate the restrictive business practice, several countries have joined hands to form treaties. Thailand can study the weak points and strong points of these treaties in comparisons in order to find guidance in establishing free trade agreements which can benefit the country. Bilateral free trade agreement can be made in different ways including one whose procedures are specified in details and one whose procedures are defined broadly. The alternatives depend on economic power of the two countries in question. The rules binding with the treaty of each country can also be various from one to another. The cooperation can be extended to the exchange of information, the investigation by the other party, Negative Comity, Positive Comity, and the compliance with Extradition Treaty. The findings show that, the agreement best suitable for Thailand is actually the one with broad procedures which are an incomprehensive cooperation, has non-binding effect, and are limited to the exchange of the information. Under the broad procedure agreement Thailand will benefit from the exchanged information of the other country and has no obligation to follow to the procedures described in the agreement which may cause disadvantages to us. However, in the future, when Thailand has gained more experience in the prosecution of the Restrictive Business Practices, we can reconsider the agreement to seek for more comprehensive cooperation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.675-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแข่งขันทางการค้า -- ไทยen_US
dc.subjectการลงทุน -- ไทยen_US
dc.subjectการกำหนดราคาสินค้าen_US
dc.subjectการค้าผูกขาดen_US
dc.subjectCompetition -- Thailanden_US
dc.subjectInvestments -- Thailanden_US
dc.subjectMonopoliesen_US
dc.subjectPrice fixingen_US
dc.titleบทบัญญัติเรื่องการแข่งขันทางการค้าในความตกลงทวิภาคี : แนวทางในการทำความตกลงทวิภาคีทางการค้าโดยประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeCompetition clauses in bilateral trade agreements : quidelines of bilateral trade agreements for thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsakda-boonto@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.675-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
araya_wa_front.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_ch1.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_ch2.pdf7.84 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_ch3.pdf6.74 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_ch4.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_ch5.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
araya_wa_back.pdf10.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.