Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57327
Title: | Plasmodium knowlesi, an emerging human malaria : molecular surveillance, genetic characterization and role of anopheline malaria main vectors in Thailand in disease transmission |
Other Titles: | โครงการวิจัยนำร่องโรคมาลาเรียอุบัติใหม่จากเชื้อพลาสโมเดียมโนวลิไซ : การเฝ้าระวังระดับอณูชีววิทยา การวิเคราะห์พันธุกรรมของเชื้อ และบทบาทของยุงก้นปล่องพาหะหลักของมาลาเรียในประเทศไทยในการนำโรค : รายงานการวิจัย |
Authors: | Somchai Jougwutiwes Chaturong Putaporntip Jeeraphat Sirichaisinthop |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
Subjects: | Malaria Animals as carriers of disease Mosquitoes as carriers of disease มาลาเรีย สัตว์พาหะนำโรค ยุงพาหะนำโรค |
Issue Date: | 2554 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Naturally acquired human infections with Plasmodium knowlesi are endemic in Southeast Asia. Our previous survey in 2006-2007 has shown a wide-spread and low prevalence of this simian malaria in Thai patients. This follow-up study in the same endemic areas in 2008-2009 has revealed a stable prevalence of P. knowlesi among malaria patients whereas a significance difference in the prevalence of 4 human malaria species occurred. Retrospective analysis of blood samples from malaria patients collected in 1996 in one of these endemic areas has reaffirmed a stable prevalence of P.knowlesi when compared to those in 2006-2007 and 2008-2009, indicating that this simian malaria is not newly emergent human malaria in Thailand. Importantly, identical merozoite surface protein-1 sequences were observed between isolates from a patient and a pig-tailed macaque living in vicinity, suggesting potential cross-transmission of P.knowlesi from naturally infected macaques to humans. |
Other Abstract: | การติดเชื้อมาลาเรียชนิดพลาสโมเดียม โนวลิไซของคนตามธรรมชาตินั้นพบอยู่ทางเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจากการศึกษาของคณะผู้วิจัยในก่อนหน้านี้ระหว่างปี 2006-2007 พบการกระจายของเชื้อชนิดนี้ในประเทศไทยได้ทั่วไปแต่มีอัตราต่ำ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาต่อเนื่องโดยเก็บตัวอย่างจากพื้นที่การศึกษาเดียวกันในระหว่างปี 2008-2009 และผลการศึกษาพบพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงความชุกของเชื้อมาลาเรียชนิดพลาสโมเดียม โนวลิไซที่ตรวจพบในผู้ป่วยแต่ผลความชุกของเชื้อมาลาเรียอีก 4 ชนิดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยังตรวจพบเชื้อดังกล่าวจากการวิเคราะห์ตัวอย่างเลือดผู้ป่วยมาลาเรียย้อนหลังที่เก็บในปี 1996 จากหนึ่งพื้นที่การศึกษา จึงเป็นการยืนยันว่าเชื้อมาลาเรียชนิดพลาสโมเดียม โนวลิไซมีความชุกคงที่เมื่อเปรียบเทียบกับการวิเคราะห์ในปี 2006-2007 และ 2008-2009 ดังนั้นจึงแสดงให้เห็นว่ามาลาเรียที่ติดต่อจากลิงชนิดนี้ไม่ได้เป็นโรคมาลาเรียอุบัติใหม่ในประเทศไทย และยิ่งไปกว่านั้นผลการวิเคราะห์ลำดับเบสของยีนที่สร้างโปรตีนบนผิวเมอร์โรซอยต์ชนิดที่ 1 ที่มีความเหมือนกันระหว่างสายพันธุ์ที่พบในคนกับลิงกังที่เลี้ยงร่วมกับคน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะมีการส่งถ่ายเชื้อชนิดนี้ไปมาระหว่างคนกับลิง |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57327 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Med - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchai_jo_b1934630x.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.