Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตวีร์ คล้ายสังข์-
dc.contributor.advisorณัฐกร สงคราม-
dc.contributor.authorกาญจนิดา กิตติสุบรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:32:36Z-
dc.date.available2018-04-11T01:32:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58175-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้แบบเสริมแรงทางบวกร่วมกับเทคนิควิชวลไลเซชันเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาและความภาคภูมิใจตามคุณลักษณะสมาร์ทฟาร์มเมอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต สาขาสื่อสารและพัฒนาการเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 28 คน ระยะเวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ระบบวิชวลไลเซชันเพื่อการแก้ปัญหา (Visualization-based Problem - Solving Support System: VPSS) (2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาและแบบทดสอบความภาคภูมิใจในตนเองก่อนและหลังเรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test dependent และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบระบบ ประกอบด้วย (1) ผู้เรียน (2) ผู้สอน 3) เครื่องมือ VPSS และ (4) ประเมินผล ขั้นตอนระบบ ประกอบด้วย (1) ขั้นเตรียมพร้อม (2) ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเครื่องมือ VPSS และ (3) ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ และผลการทดลอง พบว่า (1) นิสิตมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาและความภาคภูมิใจในตนเองหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ความสามารถในการแก้ปัญหาและความภาคภูมิใจในตนเองมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the learning system with visualization technique and positive reinforcement to enhance problem-solving ability and self-esteem according to the traits of smart farmer. The sample included 28 undergraduate students from faculty of agriculture, Kasetsart University. The experiment was carried out for 6 weeks. The research instruments were: (1) Visualization-based Problem - Solving Support System: VPSS, and (2) pretest and posttest on the problem-solving ability and the self-esteem. The data were analyzed by mean, standard deviation, t-test dependent and Pearson product-moment correlation coefficient. The research finding found that the learning system consisted of four components: (1) teachers, (2) students, (3) VPSS tools, and (4) evaluation. The processes of the learning system consisted of three steps: (1) preparation, (2) learning activities by VPSS tools, and (3) summary. The result found that: (1) both of the problem-solving ability and self-esteem posttest scores of students were higher from pretest scores at .01 level of significant and (2) the problem-solving ability and self-esteem had correlation at .05-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.598-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเกษตรกรรม -- การศึกษาและการสอน-
dc.subjectการสื่อสารทางการเกษตร-
dc.subjectAgriculture -- Study and teaching-
dc.subjectCommunication in agriculture-
dc.titleระบบการเรียนรู้แบบเสริมแรงทางบวกร่วมกับเทคนิควิชวลไลเซชันเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาและความภาคภูมิใจในตนเองตามคุณลักษณะสมาร์ทฟาร์มเมอร์-
dc.title.alternativeLearning system with visualization technique and positive reinforcement to enhance problem-solving ability and self-esteem according to the traits of smart farmer-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorjinkhlaisang@gmail.com,jintavee.m@g.chula.edu-
dc.email.advisornutthakorns@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.598-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5684486127.pdf13.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.