Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์สิทธิ์ เฉลิมพงศ์-
dc.contributor.authorดาวัต กิตติธรรมวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:36:57Z-
dc.date.available2018-04-11T01:36:57Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางในอนาคตของผู้ที่ใช้จุดจอดแล้วจรสถานีรถไฟฟ้าหมอชิต ภายหลังการยกเลิกจุดจอดแล้วจรหมอชิต และพฤติกรรมการเดินทางเมื่อรถไฟฟ้าสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) และรถไฟฟ้าสายสีเขียว (หมอชิต-คูคต) เสร็จสิ้นตามแผนในปี พ.ศ.2563 โดยกลุ่มเป้าหมายคือผู้ที่มาใช้บริการจุดจอดแล้วจรโดยไม่รวมผู้มาจอดรับ-ส่ง และศึกษาเฉพาะใน วันจันทร์ – วันศุกร์ จากการสำรวจพื้นที่จุดจอดแล้วจรในปัจจุบันพบว่ามีจำนวนที่มีช่องจอดประมาณ 1,250 ช่องจอดเปิดให้บริการทุกวันโดยเปิดให้บริการตั้งแต่ 05.00 น. – 01.00 น. และระยะทางจากลานจอดรถไปสถานีรถไฟฟ้าหมอชิตประมาณ 200 เมตร และลานจอดแล้วจรสถานีรถไฟฟ้าหมอชิตจะเต็มเวลาประมาณ 7.00 น. โดยกลุ่มเป้าหมายที่สัมภาษณ์จำนวน 315 คนโดยสอบถามจุดเริ่มต้น-จุดปลายทางของผู้ใช้บริการ พฤติกรรมของผู้ใช้บริการจุดจอดแล้วจรเมื่อมีการยกเลิกจุดจอดแล้วจรสถานีรถไฟฟ้าหมอชิต และพฤติกรรมการใช้บริการรถไฟฟ้าสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) และรถไฟฟ้าสายสีเขียว (หมอชิต-คูคต) เมื่อเสร็จสิ้นตามแผน และการเดินทางเพื่อเข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าแห่งใหม่ โดยผลจากการยกเลิกจุดจอดแล้วจรพบว่าปริมาณการเดินทางโดยรถส่วนตัวจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากการที่ผู้ใช้บริการจุดจอดแล้วจรจะย้ายไปจอดบริเวณใกล้เคียง และมีการขับรถยนต์ส่วนตัวเพื่อไปถึงจุดปลายทาง ซึ่งจากผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการประกอบการวางแผนในการสร้างจุดจรแล้วจรแห่งใหม่ในอนาคตเมื่อมีการยกเลิกสถานีรถไฟฟ้าหมอชิต-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the behavioral adjustments of commuters who use park and ride at Mochit BTS Station after the park and ride is canceled and the completion of MRT Red line (Bangsue- Rangsit) and BTS Green line (Mochit - Kukot) in B.E. 2562 . The survey of the facility reveals that there are 1,250 parking spaces. The park and ride is opened everyday from 5.00 a.m. to 1.00 a.m. It is located 200 m from Mochit Station and is full around 7.00 a.m. The sample of 315 commuters were interviewed about the origin and destination and the behavior of users when they the parking facility is canceled. In addition, and whether and how they will use and access the stations of the new lines. The analysis results revealed that the amount of personal car use will be increased because the users will need to find other nearby park and ride or they will drive straight to the destination without using transit. The result of this study can be used as inputs for new park and ride planning in the future when the facility at Mochit BTS Station is cancelled.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.915-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการเดินทางของผู้ใช้บริการจอดแล้วจรในกรณียกเลิกจุดจอดแล้วจรหมอชิต-
dc.title.alternativeA STUDY OF TRAVEL BEHAVIOR OF PARK AND RIDE USERS IN CASE OF CANCELLATION OF MOCHIT PARK AND RIDE-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSaksith.C@chula.ac.th,saksith.c@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.915-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5870293121.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.