Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58954
Title: พัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำมะขาม เพื่อใช้เป็นยาระบาย
Other Titles: The development of tamarind juice for applications as a laxative
Integrated research program in developing value added products for pharmaceuticals and cosmetics from Thai plants of commercial importance
แผนงานวิจัยบูรณาการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางยาและเครื่องสำอางจากพืชเศรษฐกิจไทย
Authors: มณีวรรณ สุขสมทิพย์
อำไพ ปั้นทอง
ธิติรัตน์ ปานม่วง
พวงทิพย์ คุณานุสรณ์
ปริรัตน์ คนสูง
ณัฎฐิกานต์ จิรัณชนัฐ
สุนันท์ พงษ์สามารถ
Email: Maneewan.S@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
Subjects: มะขาม
ยาระบาย
Tamarind indica
Laxatives
Issue Date: 2551
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: มะขาม Tamarindrus indica L. จำนวน 5 สายพันธุ์ปลูก ได้แก่ มะขามเปรี้ยวยักษ์ มะขามศรีชมภู สืทอง และขันตี จากจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามเปรี้ยว มะขามหวานศรีชมภู และสีทองหนัก จากจังหวัดนครราชสีมา มีองค์ประกอบของสารอินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ Tartaric acid malic acid citric acid oxalic aid succinic acid และ fumaric acid ในปริมาณที่แตกต่างกัน พบมีปริมาณกรดอินทรีย์ดังกล่าวเท่ากับ 1.6-17.3% 0.5-2.5% 0.05-0.28% 0.0-0.19% 0.02-0.27% และ 0.0004-0.0044% ตามลำดับ จากการวิเคราะห์โดยเทคนิค HPLC การทดสอบฤทธิ์ยาระบายของน้ำมะขามในหนูขาว โดยวิธี Gastrointestinal motility test ดูการเคลื่อนที่ของผงถ่านในลำไส้เล็กของหนูขาว เทียบกับกลุ่มควบคุมที่ใช้น้ำกลั่น และกลุ่มที่ให้น้ำสกัดลูกพรุน และกรดอินทรีย์ tartaric acid citric acid และ malic acid เป็น positive control พบว่าน้ำสกัดมะขามทั้งชนิดเปรี้ยว และมะขามหวาน ที่ทดสอบมีฤทธิ์การระบายดี น้ำสกัดจากเนื้อมะขาม สามารคถนำมาเตรียมผลิตภัณฑ์มะขามในรูปของเยลลี่มะขาม เครื่องดื่มมะขามชนิดผงฟู่ และผงแห้งมะขาม เมื่อนำมาเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ของผงแห้งมะขาม โดยวิธี spray dried โดยใช้มะขามเปรี้ยวยักษ์ ผสมกับขันตี สัดส่วน 1:1 โดยใช้ polysaccharide จากแป้งเมล็ดมะขาม หรือใช้ pectin เป็น carrier จะได้ผงแห้งที่ดี มีปริมาณ tartaric acid สูง 9-12% พบว่าได้ผลิตภัณฑ์ผงมะขามที่ดีผสมกับน้ำได้ง่าย และมีผลการระบายที่ดีขึ้น โดยดูจากการเคลื่อนที่ของผงถ่านในลำไส้เล็กของหนูขาว
Other Abstract: Tamarind pods of five tamarind cultivars, Tamarindus indica L. “Prew yak”, “Sri-chompu”, “Sithong”, and “Kunti” from Petchabun province and “ Prew”, “Sri-chompu”, and “Sithong” from Nakorn-Ratchasima (Korat) Province were collected. Organic acids content in tamarind extracts including tartaric acid, malic acid, citric acid, oxalic acid, succinic acid and fumaric acid were analyzed by HPLC technique and found to contain those organic acid at 1.6-17.3%, 0.5-2.5%, 0.05-0.28%, 0.09-0.19%, 0.02-0.27% and 0.0004-0.0044%, respectively. Laxative effect of tamarind extracts was estimated by Gastrointestinal motility test to see motility of small intestine in rats treated with tamarind extract in comparison with control group treated with distilled water and positive control group treated with prun extracts and the group treated with organic acids including tartaric acid, citric acid and malic acid. The results showed that tamarind extracts of sour and sweet type possessed good laxative effect. Extracts of tamarind pulps were use to prepare tamarind jelly, tamarind effervescent tablet and tamarind dry powder products. Dry tamarind powder was prepared by spray drying from the sour tamarind “Prew yek” and the sweet tamarind “Kanti” (1:1) and polysaccharide in tamarind seed powder from tamarind kernel or pectin was use as carrier. The product of tamarind powder contained 9-12% tartaric acid. The tamarind powder product was readily mixed with water, the product possessed good laxative effect in treated rats.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58954
Type: Technical Report
Appears in Collections:Pharm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maneewan Su_Res_2551.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.