Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60355
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสิริวรรณ กิตติเนาวรัตน์-
dc.contributor.authorธิติญาภรณ์ สายศักดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-10-01T09:07:27Z-
dc.date.available2018-10-01T09:07:27Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60355-
dc.descriptionเนื่องจากผลที่ได้จากการศึกษาของการอบผนึกด้วยรังสียูวีเพื่อตกแต่งผ้าฝ้ายให้มีสมบัติกันยับได้ผลที่เป็นเชิงลบทำให้ต้องเปลี่ยนจุดมุ่งหมายไปศึกษาการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองของผ้าที่ผ่านการตกแต่งด้วยไททาเนียโซลและอบด้วยรังสียูวีแทนen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาความสามารถในการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองของผ้าฝ้ายที่ผ่านการตกแต่งด้วยไททาเนียโซลที่เตรียมด้วยสารตั้งต้นของ Titanium isopropoxide (TTIP) ที่ความเข้มข้นที่แตกต่างกันในช่วงระหว่าง 5-20% หลังจากนั้นนำผ้าฝ้ายมาจุ่มในไททาเนียโซลเป็นระยะเวลา 10 นาที แล้วนำผ้าไปบีบอัดด้วยลูกกลิ้งเพื่อควบคุม % pick-up ให้ได้ 80% แล้วนำผ้าที่ผ่านการตกแต่งแล้วมาอบด้วยความร้อน 2 ระบบ คือระบบอบด้วยความร้อนด้วยรังสียูวีที่พลังงาน 289 mj/cm จำนวน 5 รอบ และระบอบการอบด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 100°C เป็นระยะเวลา 5 นาที หลังจากนั้นนำผ้าฝ้ายที่ผ่านการตกแต่งไปศึกษาการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองของผ้า ซึ่งจะทำการศึกษา 3 ด้าน คือ การสลายตัวของสิริแอคทีฟ การขจัดคราบกาแฟที่เปื้อน และการต้านทานเชื้อแบคทีเรีย รวมทั้งศึกษาสมบัติทางกายภาพทางด้านความเหลืองและความต้านแรงดึงที่คงเหลือ และเฟสของอนุภาคไททาเนียที่อยู่บนผ้าที่ผ่านการตกแต่งได้ทำการศึกษาด้วยเช่นกัน จากผลการทดสอบเฟสอนุภาคไททาเนียด้วยเครื่องเอ็กซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน ผลปรากฏว่าเป็นพีคของผลึกอนาเทส และเมื่อนำผ้าที่ผ่านการตกแต่งมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดก็พบอนุภาคเกาะอยู่บนเส้นใยของผ้าฝ้าย ส่วนผลของการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองของผ้าที่ผ่านการตกแต่งด้วยไททาเนียโซลที่อบด้วยรังสียูวีหรืออบด้วยความร้อนแสดงการสลายตัวของสิรีแอคทีฟที่อยู่ในขั้นที่ดีมาก แต่สมบัติทางด้านการขจัดคราบกาแฟที่เปื้อนและสมบัติการต้านทานเชื้อแบคทีเรียของผ้าที่ผ่านการตกแต่งด้วยไททาเนียโซลได้ผลไม่ค่อยดีนัก แต่เมื่อนำผ้าที่ป่านการตกแต่งแล้วด้วยไททาเนียโซลไปทำการอบผนึกเพิ่มอีกครั้งที่สูงที่ 150°C เป็นเวลา 3 นาที กลับได้ผลการทดสอบการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองทั้ง 2 ด้านดีขึ้น ซึ่งอาจจะบอกเป็นนัยได้ว่า การอบผนึกเพิ่มอาจจะมีผลกระทบต่อผลึกของอนุภาคไททาเนียที่แตกต่างออกไปจากของการที่ไม่มีการอบผนึกเพิ่ม และยังมีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำความสะอาดได้ด้วยตนเองของผ้าให้ดีขึ้นได้ ส่วนค่าดัชนีความเหลืองและความต้านแรงดึงที่คงเหลือของผ้าที่ผ่านอบผนึกอีกครั้งจะแสดงผลที่ด้อยลงอีกen_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, the cotton fabric surface treated with Ti0₂ nanosol and heated under ultraviolet irradiation or under heat in conventional oven. Ti02 nanosol was prepared by sol-gel teclmique using titanium (IV) isopropoxide (TTIP) as a precursor under acid condition. Cotton fabric was immersed in the mixed solution of Ti0₂ nanosol prepared from various concentrations of 5-20% VN for 10 min and padded through the two-rollers to obtain about 80% wet pick-up. After that the padded cotton fabric was heated either under ultraviolet irradiation (UV) having energy at 289 mJ/cm² for 5 cycles or in the oven at a high temperature, 100°C for 5 min. Then the treated cotton fabric was washed with water and dried at 80°C for 5 min before testing. Self-cleaning properties including degradation of coffee stain, antibacterial and decomposition of dye and deterioration of physical properties consisting of tensile strength retention and yellowness index were all investigated. A scanning electron microscope and X -ray diffractometer were used to observe the morphology and composition of Ti0₂ coated cotton fabric surface, respectively. XRD patterns of the treated cotton fabric surfaces should anatase as the major peak of nano Ti0₂. The surface morphology of the treated cotton fabric revealed the Ti0₂ particles distributed over the fiber surface. The treated cotton fabric surface heated under UV and at high temperature had ability to decompose the reactive dye, but not as good on those antibacterial property and decomposition of coffee stain. Surprisingly, antibacterial property and decomposition of coffee stain were improved on the treated cotton fabric surface after re-curing at higher temperature (I50°C) for 5 min. This would imply that the curing temperature may affect the morphology of Ti0₂ particles and enhance the perfonnance of those two self-cleaning properties on the treated cotton fabric surface. However, the yellowness index and tensile strength retention were much worse in recurred cotton fabric.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง กองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผ้าฝ้ายen_US
dc.subjectผ้าต้านทานการยับen_US
dc.subjectวัสดุซ่อมแซมตัวเองen_US
dc.subjectCotton fabricsen_US
dc.subjectCrease-resistant fabricsen_US
dc.subjectSelf-healing materialsen_US
dc.titleการอบผนึกด้วยรังสียูวีเพื่อตกแต่งผ้าฝ้ายให้มีสมบัติกันยับen_US
dc.title.alternativeUV curing for producing cotton fabric with easy careen_US
dc.title.alternativeSelf-cleaning in the coton fabricen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorSiriwan.K@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriwan Ki_Res_2554.pdf8.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.