Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60398
Title: Production of monoclonal antibody against oxytetracycline for developing enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) test kit, 2nd year
Other Titles: การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อออกซีเตตราซัยคลินเพื่อพัฒนาชุดตรวจสอบโดยวิธีเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์เอสเสย์ปีที่ 2 : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
Authors: Nanthika Khongchareonporn
Songchan Puthong
Anumart Buakeaw
Kittinan Komolpis
Umaporn Pimpitak
Email: Nanthika.K@Chula.ac.th
songchan.p@chula.ac.th
Anumart.b@chula.ac.th
kittinan.k@chula.ac.th
Umaporn.P@Chula.ac.th
Other author: Chulalongkorn University. Institute of Biotechnology and Genetic Engineering
Subjects: Oxytetracycline
Enzyme-linked immunosorbent assay
Monoclonal antibodies
Issue Date: 2015
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In Thailand, oxytetracyline (OTC) has been used in the protection and treatment of infected shrimps. The misuse of OTC could lead to OTC residues in shrimps destined for consumption. To prevent consumers from exposure to drug residues and increase of drug resistance pathogens, several food safety authorities in many countries have set the maximum residue limits (MRLs) for OTC and enforced the surveillance detection programs. Therefore, an effective screening method is essential to detect OTC residue in food. Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) is the suitable methods for screening a large number of samples due to its simplicity, rapidity and cost effectiveness. Consequently, the aim of this study was to develop the methods in order to detect OTC residue in shrimp samples. The results showed that the indirect competitive ELISA using goat anti mouse IgG-hosreradish peroxidase (GAM-HRP) was suitable for OTC detection with the 50% inhibition concentration (IC50) of 5.5 ng/ml and the limit of detection (LOD) of 0.9 ng/ml. The developed ELISA could detect OTC at the concentration between 0.5 ng/ml and 32 ng/ml which covered the current MRLs. In addition, the detection showed strong cross-reactivity to rolitetracycline (RTC) (142%) but did not crossreact with other related antibiotics. When the ELISA was used to detect OTC in fortified shrimp samples, the %recoveries were in the range of 82%-118% for an intra-assay and 96%-113% for an inter-assay. The coefficients of variation of ELISA were 5.5%-13.9% and 5.5%-14.9%, respectively.
Other Abstract: ในประเทศไทยออกซีเตตราไซคลินถูกนำมาใช้ในการป้องกัน และรักษาการติดเชื้อในกุ้ง ซึ่งการใช้ยาออกซีเตตราไซคลินอย่างไม่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดการตกค้างขึ้นในเนื้อกุ้งที่นำมาบริโภค ดังนั้นเพื่อป้องกันผู้บริโภคจากการได้รับยาปฏิชีวนะที่ตกค้างในอาหาร และป้องกันการเกิดการ ดื้อ ยาของเชื้อก่อโรคในคน หน่วยงานที่ควบคุมความปลอดภัยของอาหารในหลายประเทศจึงได้ กำหนด และบังคับใช้ค่าปริมาณออกซีเตตราไซคลินสูงสุดที่อนุญาตให้ตรวจพบได้ (MRLs) ใน อาหารขึ้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีวิธีการตรวจคัดกรองออกซีเตตราไซคลินที่ตกค้างในอาหารที่มี ประสิทธิภาพ โดยวิธีเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์ (ELISA) เป็นวิธีที่เหมาะสมที่จะนำมา ตรวจคัดกรองตัวอย่างจำนวนมากพร้อมกัน เนื่องจากวิธีดังกล่าวสามารถตรวจวัดได้รวดเร็ว ง่าย และคุ้มค่าต้นทุนการตรวจ ดังนั้นจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการพัฒนาการตรวจสอบข้างต้นเพื่อ ตรวจวัดออกซีเตตราไซคลินที่ตกค้างในเนื้อกุ้ง จากการทดลองพบว่าการตรวจแบบ indirect competitive ELISA โดยใช้ goat anti mouse IgG-hosreradish peroxidase (GAM-HRP) มีความ เหมาะสมในการตรวจออกซีเตตราไซคลิน โดยมีค่าความเข้มข้นของสารแข่งขันที่ทำให้ค่าการ ดูดกลืนแสงลดลง 50 เปอร์เซ็นต์ (IC₅₀) ที่ 5.5 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร และค่าความเข้มข้นต่า สุดที่ ตรวจวัดได้ (LOD) ที่0.9 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร และ ELISA ที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัดออกซีเต ตราไซคลินได้ในช่วงความเข้มข้น 0.5 ถึง 32 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตรซึ่งครอบคลุมค่า MRLs ใน ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังพบว่าการตรวจสอบจะทำปฏิกิริยาข้ามกับสารโรลิเตตราไซคลินสูง (142%) แต่ไม่ทา ปฏิกิริยาข้ามกับยาปฏิชีวนะอื่นที่เกี่ยวข้อง และเมื่อนำชุดตรวจสอบแบบ ELISA นี้ไปทำ การตรวจวัดปริมาณออกซีเตตราไซคลินที่ถูกเติมลงในตัวอย่างเนื้อกุ้ง พบว่าสำหรับ Intra-assay จะ มีอัตราการได้กลับคืน (%recovery) อยู่ในช่วง 82%-118% และสา หรับ Inter-assay จะเท่ากับ 96%- 113% โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การความแปรปรวน (%CV) อยู่ที่ 5.5%-13.9% และ 5.5%-14.9% ตามลำดับ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60398
Type: Technical Report
Appears in Collections:Biotec - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nanthika Kh2558.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.