Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60430
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พัชรี ฤทธิ์ประจักษ์ | - |
dc.contributor.author | ประสิทธิ์ ภวสันต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-10-08T07:24:06Z | - |
dc.date.available | 2018-10-08T07:24:06Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60430 | - |
dc.description.abstract | การบาดเจ็บจากแรงเชิงกลส่งผลให้เกิดการละลายภายในคลองรากฟัน ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งของการสูญเสียฟัน ดังนั้นการศึกษากลไกการเกิดการละลายภายในคลองรากฟันจึงมีผลต่อการพัฒนาแนวทางในการรักษาผู้ป่วยทางคลินิก ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยจึงมีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษากลไกการเกิดการละลายภายในคลองรากฟัน โดยคณะผู้วิจัยมีสมมุติฐานเบื้องต้นว่าความเครียดจากแรงเชิงกล ส่งผลให้เกิดการอักเสบของเซลล์โพรงฟัน ทำให้เซลล์โพรงฟันหลั่งสารที่มีผลต่อการแปรสภาพและการทำงานของเซลล์สลายกระดูก/สลายฟัน ซึ่งเซลล์ดังกล่าวนี้จะไปทำลายเนื้อฟันและทำให้เกิดลักษณะทางคลินิกของการละลายภายในคลองรากฟัน จากผลการทดลองพบว่าเมื่อเซลล์โพรงฟันได้รับความเครียดจากแรงกด นอกจากเซลล์โพรงฟันจะมีการหลั่งไซโตไคน์ IL-1 และ IL-6 ซึ่งเป็นสารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบแล้ว ยังมีการหลั่งสารกลุ่ม Danger Associated Molecular Pattern (DAMPs) อันได้แก่ S100A7, S100A8 และ S100A9 อีกด้วย โดยมีรายงานว่าสาร S100 ดังกล่าวมีผลต่อการเพิ่มการแปรสภาพและการทำงานของเซลล์สลายกระดูก นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบว่าความเครียดจากแรงกดยังมีผลต่อการแสดงออกของตัวรับสัญญาณ GPCR และ P2Y6R ซึ่งผู้วิจัยมีสมมุติฐานว่าวิถีสัญญาณที่ผ่านตัวรับสัญญานดังกล่าวน่าจะเกี่ยวข้องกับการหลั่งสาร S100A7, S100A8 และ S100A9 อย่างไรก็ตามคณะผู้วิจัยยังต้องทำการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้ได้กลไกการเกิดการละลายคลองรากฟันที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยคณะผู้วิจัยคาดหวังว่าองค์ความรู้ทั้งหมดนี้จะมีประโยชน์ต่อการรักษาผู้ป่วยทางคลินิกในอนาคต | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2557 สัญญาเลขที่ GRB_APS_02_57_32_02 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คลองรากฟัน | en_US |
dc.subject | คลองรากฟัน -- โรค | en_US |
dc.subject | คลองรากฟัน -- โรค -- การรักษา | en_US |
dc.subject | การสลายตัวของกระดูก | en_US |
dc.subject | การสลายตัวของกระดูก -- การรักษา | en_US |
dc.title | ผลของแรงเชิงกลต่อการเกิดการละลายภายในคลองรากฟันและ การพัฒนาแนวทางในการรักษา : รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานปีที่ 1 | en_US |
dc.title.alternative | Effect of mechanical stimulation on internal root resorption and the development of its therapeutic treatment | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Patcharee.R@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Prasit.Pav@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Dent - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Patcharee R_Res_2557.pdf | 903.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.