Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพดล กิตนะ-
dc.contributor.authorจิรารัช กิตนะ-
dc.contributor.authorวิเชฏฐ์ คนซื่อ-
dc.contributor.authorผุสตี ปริยานนท์-
dc.contributor.authorรัชต โปชยะวณิช-
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ ธรรมโชติ-
dc.contributor.authorรชตะ มณีอินทร์-
dc.contributor.authorยุพาพร วิสูตร-
dc.contributor.authorชัญญาพัชญ์ แสนเทศธัญวัฒน์-
dc.contributor.authorขัตพันธุ์ จันทะวงษ์ศรี-
dc.contributor.authorสุธิโรจน์ มีสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-10-31T02:08:29Z-
dc.date.available2018-10-31T02:08:29Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60487-
dc.description.abstractการสำรวจภาคสนามร่วมกับโครงการ อพ.สธ.-ทร. ในระหว่างปี พ.ศ. 2553-2556 ในพื้นที่หมู่เกาะและทะเลไทย 4 พื้นที่ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน จ.พังงา เกาะทะลุ จ.ประจวบคีรีขันธ์ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะไข่ เกาะเวียง จ.ชุมพร และ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จ.กระบี่ พบสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata อันดับย่อย Lacertilia 21 ชนิด โดยพบว่าสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มจิ้งเหลน (วงศ์ Scincidae) มีความเหมาะสมที่จะใช้เป็นตัวแทนในการศึกษาสุขภาวะและชีววิทยาการสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลานในระบบนิเวศเกาะ โดยมีการกระจายที่กว้างขวางครอบคลุมพื้นที่หมู่เกาะและทะเลไทย สำรวจพบได้ทั้งในฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทย สามารถพบและเก็บตัวอย่างได้ค่อนข้างง่าย มีขนาดลำตัวที่เหมาะสมต่อการเก็บตัวอย่าง ทั้งยังไม่เป็นสัตว์ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์หรือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองด้วย โดยพิจารณาเลือก จิ้งเหลนบ้าน Eutropis multifasciata เป็นตัวแทนของสัตว์จากพื้นที่ฝั่งอันดามัน และ จิ้งเหลนเรียวท้องเหลือง Lygosoma bowringii เป็นตัวแทนของสัตว์จากพื้นที่ฝั่งอ่าวไทย แล้วนำมาตรวจสอบลักษณะสัณฐานและจุลกายวิภาคของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และท่อในระบบสืบพันธุ์ พบว่าจิ้งเหลนบ้านเพศผู้มีการเจริญของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ค่อนข้างคงที่ตลอดทั้งปี โดยสามารถพบอัณฑะขนาดใหญ่ และมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่สมบูรณ์จนพบอสุจิได้ทั้งในท่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ และท่อนำอสุจิ ในช่วงก่อนฤดูสืบพันธุ์ (เมษายน) และจิ้งเหลนบ้านเพศเมียอาจมีการเจริญของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่สัมพันธ์กับฤดูสืบพันธุ์ โดยพบรังไข่ที่ยังเจริญไม่เต็มที่ในช่วงก่อนเข้าฤดูสืบพันธุ์ (เมษายน) ส่วนจิ้งเหลนเรียวท้องเหลืองมีการเจริญของอัณฑะ และ รังไข่ที่สมบูรณ์ในช่วงฤดูสืบพันธุ์ (สิงหาคม) ทั้งนี้จำเป็นต้องมีการเก็บตัวอย่างและรักษาสภาพที่เหมาะสมเพื่อนำมาตรวจสอบลักษณะทางจุลกายวิภาคต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeJoint field surveys of the RSPG and the Royal Thai Navy were carried out during B.E. 2553-2556 at Similan Islands National Park in Phang Nga province, Talu Island in Prachuab Khiri Khan province, Koh Khai Koh Wiang National Park in Chumphon province and Lanta Islands National Park in Krabi province. Twenty one species of reptile in Order Squamata, Suborder Lacertilia were found in these surveys. Skinks (Family Scincidae) were selected as representative species to study health status and reproductive biology of reptile in island ecosystem since 1) they were widely distribution in Thai islands at both the Andaman Sea and the Gulf of Thailand; 2) it is convenient to find and catch them, 3) their size is suitable for further studies and 4) they are not endangered or protected species. In this study, Eutropis multifasciata was used as a representative reptile from the Andaman Sea and Lygosoma bowringii was used as a representative reptile from the Gulf of Thailand. Reproductive biology of these skinks were initially evaluated based on gross morphology of the gonads followed by microscopic examination of the gonad and reproductive tract. It was found that testicular development of male Eutropis multifasciata was relatively constant throughout the year. Mature testis with complete spermatogenesis as well as epididymis with fully matured sperms could be found before the breeding season (April). On the contrary, ovarian development of female Eutropis multifasciata seemed to be dependent of the breeding season so that only the immature ovary was found before the breeding season (April). In Lygosoma bowringii, the mature testis and ovary can be found during the breeding season (August). To confirm this observation, further histological analyses of these gonads are required.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2558en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสัตว์เลื้อยคลานen_US
dc.titleการประเมินสุขภาวะและชีววิทยาการสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลานในระบบนิเวศเกาะ : รายงานผลการดำเนินงานen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Health Status and Reproductive Biology of Reptiles in Island Ecosystemen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorNoppadon.K@Chula.ac.th-
dc.email.authorJirarach.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorWichase.K@Chula.ac.th-
dc.email.authorPutsatee.p@chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorธงชัย ฐิติภูรี-
dc.email.authorมุกเรขา เชี่ยวชาญชัย-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noppadon K_Res_2558.pdf925.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.