Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62338
Title: | Everyday Chinese listening proficiency guidelines : a case study of Chulalongkorn University students |
Other Titles: | แนวทางการกำหนดความสามารถด้านการฟังภาษาจีนในชีวิตประจำวัน : กรณีศึกษานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 泰國朱拉隆功大學學生現代漢語日常聽力能力等級綱要 |
Authors: | Apisara Pornrattananukul |
Advisors: | Suree Choonharuangdej Prapin Manomaivibool |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | No information provinded No information provinded |
Subjects: | Chinese language -- Listening Chinese language -- Thailand -- Listening Chulalongkorn University -- Students ภาษาจีน -- การฟัง ภาษาจีน -- ไทย -- การฟัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษา |
Issue Date: | 2006 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | 最近語言教學界很重視學習外語的學生的使用能力問題,他們發現學生語言使用能力問題的出現是因為學生“交際能力”的不足。朱拉隆功大學漢語專業的課程這幾年來開始重視“為使用而教學”的這種教學方式。本文的目的是為了提出「泰國朱拉隆功大學學生現代漢語日常聽力能力等級綱要」,希望能將其作為實際交際能力測試設計的一個標準,而且作為聽力教材編寫的參考。本文主要參考美國外語教學學會的中文程度綱要(在此將其簡稱為《漢語水平》),研究其内容結構。我們發現《漢語水平》完全根據“語言功用三面”而決定。語言功用三面包括∶語言功能、語言情景(内容)和語言準確性。其次我們進行研究朱拉隆功大學漢語專業的課程。為了得到學生的聽力實用能力,我們以《漢語水平》中的“語言功用三面”為參考,歸納出學生學完每課該達到的聽力能力,並盡量判斷每課該屬於甚麽水平。之後,我們進行歸納朱拉隆功漢語專業大學生聽力能分級之原則。為了證明我們所定出來的聽力能力綱要真正依靠“交際能力”,我們將我們擬定的綱要同漢語水平進行分析和比較。我們認為比較的過程中主要有兩方面值得探討∶一、在平面;就是討論兩者每等級内容之異同。二、在垂直面;是討論兩者聽力能力提高的階段。研究結果顯示朱拉隆功大學漢語專業學生的聽力能力在初、中、高每等級都高於《漢語水平》的訂定,而且我們學生聽力提高的階段也進步得比《漢語水平》還快。我們認為兩者差異之原因是我們漢語專業有一定的課程目標,而訂定朱拉隆功大學生的語言能力時,我們必須遵循我們的課程目標。此外,我們訂定的聽力能力是專門用於朱拉隆功大學生,由於我們的學生是專門學習語言的,所以他們語言理解的能力當然比其他專業的學生還高。而且我們的學生都是泰語母語者,由於漢泰同屬於漢藏語系,兩種語言語音系統、語法結構接近,所以我們學生就能學得比較快。有鑒於此,我們在論文最後的部份提供了「泰國朱拉隆功大學學生現代漢語日常聽力能力等級綱要」,希望有意者可將其進行研究,或許作為聽力測試設計的標準,或許作為聽力教材編寫的參考。 |
Other Abstract: | จุดประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือเพื่อเสนอ "แนวทางการกำหนดความสามารถด้านการฟังภาษาจีนในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และเพื่อนำไปใช้เป็นมาตรฐานในการออกแบบการวัดผลทางด้านทักษะที่ใช้ในการสื่อสาร รวมทั้งสามารถนำแนวทางนี้ไปใช้ในการอ้างอิงการเขียนตำราที่เกี่ยวข้องกับทักษะด้านการฟังภาษาจีนได้อีกด้วย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้อ้างอิงมาจากแนวทางกำหนดความสามารถทางการเรียนการสอนภาษาจีนของสภาการสอนภาษาต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือ American Council on the Teaching of Foreign Languages Chinese Proficiency Guidelines ผู้วิจัยวิเคราะห์โครงสร้างเนื้อหาทั้งหมด และพบว่าแนวทางกำหนดความสามารถนี้ได้ยึดหลักของบทบาททางภาษา 3 ประการ อันประกอบด้วย การใช้ภาษา, บริบทและเนื้อหาของภาษา และความถูกต้องในการใช้ภาษา จากนั้น ผู้วิจัยได้นำบทบาททางภาษา 3 ประการมาเห็นหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์หลักสูตรวิชาเอกภาษาจีนของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อแสดงระดับความสามารถในด้านการฟังของนิสิตวิชาเอกภาษาจีน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้วิจัยวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างแนวทางกำหนดความสามารถทางการเรียนการสอนภาษาจีนของสภาการสอนภาษาต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกากับแนวทางการกำหนดความสามารถด้านการฟังภาษาจีนในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อแสดงให้เห็นว่าแนวทางกำหนดความสามารถที่ผู้วิจัยเสนอนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถในการสื่อสารอย่างแท้จริง ผู้วิจัยเห็นว่าการวิเคราะห์เปรียบเทียบนี้มีหลักสำคัญที่ต้องคำนึงถึง 2 ประการคือ 1. การวิเคราะห์ในแนวนอนเพื่อหาข้อแตกต่างระหว่างระดับชั้นของแนวทางกำหนดความสามรถทั้งสอง 2. การวิเคราะห์ในแนวตั้งเพื่อแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางด้านการฟังของผู้เรียน ผลการวิจัยที่ได้รับคือระดับความสามารถทางด้านการฟังทั้งต้น กลาง และสูงของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยล้วนสูงกว่าระดับความสามารถของแนวทางกำหนดความสามารถทางการเรียนการสอนภาษาจีนของสภาการสอนภาษาต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา รวมทั้งพัฒนาการทางด้านการฟังของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็เร็วกว่าอีกด้วย ผู้วิจัยตระหนักถึงความแตกต่างนี้ว่ามีสาเหตุมรจาก 1) วิชาเอกภาษาจีนนั้นมีจุดประสงค์ของหลักสูตรที่แน่นอน ดังนั้นทักษะทางภาษาของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงต้องเป็นไปตามจุดประสงค์นั้นๆ 2) แนวทางกำหนดความสามรรถด้านการฟังจัดทำขึ้นเพื่อนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิชาเอกภาษาจีนโดยเฉพาะ 3) ภาษาไทยเป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษาเดียวกันกับภาษาจีน คือ ตระกูลภาษาจีน-ธิเบต ซึ่งมักมีระบบเสียงและหลักไวยากรณ์ที่ใกล้เคียงกัน ดังนั้นนิสิตไทยจึงสามารถเรียนรู้ภาษาจีนได้ค่อนข้างเร็ว |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chinese as a Foreign Language |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62338 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2042 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.2042 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Apisara_Po_front_p.pdf | 1.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_ch1_p.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_ch2_p.pdf | 4.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_ch3_p.pdf | 7.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_ch4_p.pdf | 3.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_ch5_p.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apisara_Po_back_p.pdf | 9.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.