Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62452
Title: กบฏสันติภาพ
Other Titles: Peace rebellion
Authors: วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์
Advisors: ชัยอนันต์ สมุทวณิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: กบฏสันติภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
คอมมิวนิสต์ -- ไทย
ความขัดแย้งทางการเมือง
ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2490
Peace Rebelli
Social change
Communism -- Thailand
Thailand -- Politics and government -- 1947
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์สภาพความขัดแย้งระหว่างกลุ่มที่ขัดแย้งกันสองกลุ่ม คือ กลุ่มอำนาจนิยมฝ่ายทหารของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม กับกลุ่มต่อต้านอำนาจรัฐ ในกรณีที่เรียกกันว่า "กบฎสันติภาพ" จากการศึกษาพบว่า กรณีกบฎนี้ เกิดขึ้นท่ามกลางสภาพความขัดแย้งทางสังคม-การเมืองรัฐบาลอำนาจนิยมฝ่ายทหารซึ่งสถาปนาขึ้นภายหลังการรัฐประหาร 2490 ได้ควบคุม และแยกสลายพลังทางสังคม-การเมืองอื่นๆ โดยใช้กำลังความรุนแรง มาตรการทั้งในและนอกระบบกฎหมายส่วนกลุ่มต่อต้านอำนาจรัฐ คือขบวนการคอมมิวนิสต์ คณะกรรมการสันติภาพแห่งประเทศไทย และขบวนการกู้ชาติซึ่งก่อตัวขึ้นมาจากสภาพการณ์ระหว่างประเทศและภายในประเทศได้นำแนวความคิดเรื่อง "สันติภาพ" จากขบวนการสันติภาพสากลของฝ่ายคอมมิวนิสต์มาใช้ เพื่อเป็นวิธีการหนึ่งในการปลุกระดมพลังมวลชนให้เข้ามาสู่ขบวนการกระทำร่วม เพื่อต่อสู้เรียกร้อง สันติภาพ สิทธิ เสรีภาพ การพัฒนา และคุณค่าทางสังคม-การเมืองอื่นๆ ในท้ายที่สุด รัฐบาลอำนาจนิยมฝ่ายทหารก็ได้จับกุมสันติชนเป็นจำนวนมาก ในข้อหามีการกระทำอันเป็นการกบฎภายใน และนอกราชอาณาจักร
Other Abstract: This study is an endeavor to analyze the nature of conflict between two conflicting groups, the military authoritative regime of Field Marshal Plaek Philbunsongkhram government and the anti-establishment groups in the so-called case : "Peace Rebellion." The thesis found that the accusation exist in an internal socio-politics conflict. The military authoritative government after the November 1949 coup had manipulated and demobilized other socio-political force by means of violence, regular and extra legal process. The anti-establishment groups; the communist movement, the Peace Committee of Thailand and the National Liberation movement which developed from internal and external situational aspects had applied "Peace" concept from the communist international peace movement as means to mobilize mass into collective action movement to struggle for peace, freedom, development and other socio-politics values. At the conclusion of this conflict, the military authoritative regime had arrested most of the peaceful activist on a charge of rebelled against established regime.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62452
ISBN: 9745763462
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiwat_ca_front_p.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Wiwat_ca_ch1_p.pdf98.37 MBAdobe PDFView/Open
Wiwat_ca_ch2_p.pdf77.46 MBAdobe PDFView/Open
Wiwat_ca_ch3_p.pdf84.63 MBAdobe PDFView/Open
Wiwat_ca_ch4_p.pdf7.16 MBAdobe PDFView/Open
Wiwat_ca_back_p.pdf14.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.