Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติ-
dc.contributor.authorสิรินภรณ์ ทองคำฟู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-10-23T05:00:50Z-
dc.date.available2019-10-23T05:00:50Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63758-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่าง (1) การบริโภคเชิงสถานภาพกับการตอบสนองต่อตราสินค้า ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ ความสอดคล้องของภาพลักษณ์ ความเกี่ยวพัน ความอ่อนไหวต่อราคา และความอ่อนไหวต่อตราสินค้า (2) การบริโภคเชิงสถานภาพกับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภค และ (3) การตอบสนองต่อตราสินค้ากับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภค โดยเก็บข้อมูลกับผู้บริโภคเพศชายและเพศหญิง อายุ 22-29 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า การบริโภคเชิงสถานภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสอดคล้องของภาพลักษณ์ ความเกี่ยวพัน ความอ่อนไหวต่อตราสินค้า และคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่การบริโภคเชิงสถานภาพมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความอ่อนไหวต่อราคาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า ความสอดคล้องของภาพลักษณ์ ความเกี่ยวพัน และความอ่อนไหวต่อตราสินค้ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะเดียวกันพบว่า ความอ่อนไหวต่อราคามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study (1) the relationships between status consumption and brand responses, which composed of self-image congruency, involvement, price sensitivity, and brand consciousness, (2) the relationship between status consumption and brand equity, and (3) the relationships between brand responses and brand equity. A self-administered questionnaire was used to collect data from 400 consumers, aged 22-29 years old in Bangkok. The findings significantly showed that there were positive correlations between status consumption and self-image congruency, involvement, brand consciousness and brand equity. However, there was negative correlation between status consumption and price sensitivity. In addition, self-image congruency, involvement and brand consciousness were significantly and positively correlated with brand equity. Meanwhile, there was negative correlation between price sensitivity and brand equity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.75-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectBrand name productsen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.titleอิทธิพลของการบริโภคเชิงสถานภาพต่อการตอบสนองและคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคen_US
dc.title.alternativeInfluences of status consumption on consumer's brand responses and brand equityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSaravudh.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.75-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirinporn Thongkhamfoo.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.