Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6379
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร | - |
dc.contributor.author | วิไลรัตน์ ชัชชวลิตสกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-24T08:55:12Z | - |
dc.date.available | 2008-03-24T08:55:12Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741744218 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6379 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับสมรรถนะการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลักดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยโดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์หัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลศูนย์จำนวน 5 ท่าน ขั้นตอนที่ 2 สร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และความเที่ยงเท่ากับ .97 ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 302 คนเพื่อทดสอบความตรงตามโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนตัวประกอบแบบออโธกอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ขั้นตอนที่ 4 รวบรวมข้อมูลจากหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 90 คนและพยาบาลวิชาชีพซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 260 คน เพื่อทดสอบหาความสอดคล้องของแบบประเมินตนเองโดยหัวหน้า หอผู้ป่วยประเมินตนเองกับการประเมินโดยพยาบาลวิชาชีพผู้ใต้บังคับบัญชา ผลการวิจัย พบว่า 1. สมรรถนะการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 60 โดยประกอบด้วยสมรรถนะดังนี้ ด้านที่ 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 15 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 13.44 ด้านที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 12 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 12.90 ด้านที่ 3 การประสานงานและมนุษยสัมพันธ์ ประกอบด้วย ตัวแปรย่อย 13 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 8.98 ด้านที่ 4 การสร้างความไว้วางใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 7 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 7.15 ด้านที่ 5 ความมุ่งมั่นในการบริหารงานคุณภาพในหอผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 6 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได้ร้อย 5.92 ด้านที่ 6 การเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 4 ตัวแปร อธิบายความแปรปรวนได ร้อยละ 5.58 ด้านที่ 7 การสร้างแรงจูงใจ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 3 ตัวแปรอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 4.65 2. ความสอดคล้องของแบบประเมินตนเอง ระหว่างการประเมินตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับการประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยพยาบาลวิชาชีพผู้ใต้บังคับบัญชา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันทั้งฉบับเท่ากับ .58 | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop the total quality management competency scale for self evaluation of head nurses, of Regional Hospital and Medical Centers. Three main steps were conducted. The first step was to conduct of research framework concept by using literature review and interviewed with 5 head nurses who worked in Regional Hospital and Medical Centers. The second step was to develop the questionnaire. The questionnaire was develop by the research and judged to be acceptable by the panel of exports. Cronbachs alpha coefficient was .97. The third step was to collected data. The sample consisted 302 head nurses. The data was analyzed using principal components extraction with an orthogonal rolation and varimax method. Items were selected base on the following criteria: a) factor with an eigan value > 1.0, b) factor with items at least 3 items c) item-factor loading at least .40. Research findings were as follows. Seven significant factors of total quality management of scale for self evaluation of head nurses, Regional Hospital and Medical Centers, accounted for 60 percent of the variance. The seven-factors were 1) Building quality culture consisted of 15 items, accounted for 13.44 percent of the variance. 2) Knowledge of quality improvement consisted of 12 items, accounted for 12.90 percent of the variance. 3) Coordination and human relations hip consisted of 13 items, accounted for 8.98 percent of the variance. 4) Creation trust, consisted of 7 items, accounted for 7.15 percent of the variance. 5) Quality improvement commitment consisted of 6 items, accounted for 5.92 percent of the variance. 6) Empowerment consisted of 4 items, accounted for 5.58 percent of the variance, 7) Motivation consisted of 3 items, accounted for 4.56 percent of the variance. | en |
dc.format.extent | 1405347 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การบริหารคุณภาพโดยรวม | en |
dc.subject | โรงพยาบาล -- การบริหาร | en |
dc.title | การพัฒนาแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับสมรรถนะการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ | en |
dc.title.alternative | The development of total quality management competency scale for self evaluation of head nurses, regional hospital and medical centers | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Boonjai.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wilairatana.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.