Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64524
Title: La dynamique de l'espace dans les tragedies de Racine
Other Titles: พลวัตของพื้นที่ในบทละครโศกนาฏกรรมของราซีน
Authors: Piriyadit Manit
Advisors: Paniti Hoonswaeng
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Art
Advisor's Email: Paniti.H@Chula.ac.th
Subjects: Racine, Jean Baptiste, 1639-1699 -- Criticism and interpretation
French drama -- History and criticism
Tragedy
ราซีน, ฌอง แบบติสต์, ค.ศ.1639-1699 -- การวิจารณ์และการตีความหมาย
บทละครฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์
ละครโศกนาฏกรรม
Issue Date: 2002
Abstract: Representant un univers immense, I’espace dramatique racinien offer une topographie complexe qu’on peut etudier par une dialectique spatiale Interieur/Exterieur. L’Interieur est un espace clos ou se renferment des affrontements des personnages relies et opposes les uns aux autres par un rapport familial, un amour interdit et la haine. Dans cete space de rencontres inevitables, leurs heurt deviennent plus violents et leur condition plus douloureuse. La limite de I’espace ne leur perment de rien faire sauf de parler. L’Interieur est donc I’espace du langage, c’est-a-dire un element vital des personnages. Mais ce langage est voue a I’echec par le pouvoir du maître de lieu. En plus, le message deviant ambigu, deforme a la facon des traits mysterieusement tortueux de I’espace. L’espace exterieur parait ouvert, significant d’une facon ambivalente. C’est un espace des evenements qui provoquent les mouvements dans I’espace interieur. Bien qu’il soit considere par les protagonists enfermes dans I’espace interieur comme espace d’evasion, I’Exterieur represents I’espace d’Action et non du langage, signe de la Vie : cet espace est donc celui de la mort.
Other Abstract: โลกละครของราซีนกว้าวขวาง มีภูมิลักษณ์หลายหลาย แต่ศึกษาได้โดยกำหนดทวิลักษณ์ของพื้นที่เป็น “พื้นที่ภายใน/พื้นที่ภายนอก” พื้นที่ภายในเป็นพื้นที่ปิด เป็นสถานที่เผชิญหน้าของตัวละครซึ่งสัมพันธ์กันในเชิงเครือญาติ ผู้พันต่อสู้กันด้วยความรักต้องห้ามและความเกลียดชัง เมื่อต้องอยู่ในที่บังคับไม่อาจหลบเลี่ยงกันได้ จึงทำให้แรงปะทะระหว่างตัวละครเข้มข้นรุนแรง ย่ำสภาวะอันเป็นทุกข์ของตัวละครได้เด่นชัดยิ่งขึ้น ในพื้นที่อันจำกัดนี้ ตัวละครไม่อาจกระทำการอย่างใดได้ นอกจาเจรจา พื้นที่ภายในจึงเป็นพื้นที่ภาษาซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งการดำรงชีวิตของตัวละคร แต่อำนาจของเจ้าของพื้นที่เป็นอุปสรรคของการใช้ภาษา ทำให้การสื่อสารล้มเหลว นอกจากนี้ สารที่ส่งถึงกันก็คลุมเครือ บิดเบือนตามลักษณะวกวนลี้ลับของพื้นที่ พื้นที่ภายนอกเปิด กว้าง มีความหมายกำกวม ไม่แน่นอน เป็นพื้นที่แห่งเหตุการณซึ่งทำให้พื้นที่ภายในเกิดการเคลื่อนไหว เป็นพื้นที่หลบหนีของตัวละครที่ปรารถนาจะหลุดพนจากสภาพบังคับของพื้นที่ภายใน แต่เนื่องจากเป็นพื้นที่ของการกระทำ ไม่ใช่พื้นที่ของภาษาซึ่งเป็นเครื่องหมายของชีวิต พื้นที่ภายนอกจึงเป็นพื้นที่แห่งความตาย
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2002
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64524
ISSN: 9741716362
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piriyadit_ma_front_p.pdfFront cover abstract and table of content829.5 kBAdobe PDFView/Open
Piriyadit_ma_ch1_p.pdfChapter 11.47 MBAdobe PDFView/Open
Piriyadit_ma_ch2_p.pdfChapter 21.85 MBAdobe PDFView/Open
Piriyadit_ma_ch3_p.pdfChapter 31.53 MBAdobe PDFView/Open
Piriyadit_ma_back_p.pdfReferences and Appendix762.36 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.