Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ancharida Akaracharanya | - |
dc.contributor.author | Thippawan Wattanagonniyom | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Science | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-05T07:58:06Z | - |
dc.date.available | 2020-04-05T07:58:06Z | - |
dc.date.issued | 2015 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64953 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015 | - |
dc.description.abstract | Comparison of cassava waste pulp hydrolysate obtained from hydrochloric acid and 3 different enzymes (cellulase, alpha-amylase and glucoamylase). Consequently hydrolysis, revealed that 10% and 25% (w/v) substrate loading of The CWP-acid and enzymatic hydrolysate contained maximal reducing sugar at 0.28 and 0.14 g/g dry weight, respectively. But the CWP-enzymatic hydrolysate gave 62.47% higher ethanol than the CWP-acid hydrolysate when they fermented by Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 (SC 90). Co-fermentation of molasses with the CWP-enzymatic hydrolysate at initial total sugar 24.5% (w/v) yielded maximal ethanol 6.67% (w/v). Fermentation of the molasses-CWP enzymatic hydrolysate mixture by supplementation with 0.8% (w/v) KH2PO4 increased maximal ethanol to 7.09% (w/v). This maximal level of ethanol could be increased to 7.44% (w/v) by addition of 3% (w/v) of solid residue obtained after enzymatic hydrolysis of cassava waste pulp. | - |
dc.description.abstractalternative | การเปรียบเทียบผลการย่อยกากมันสำปะหลัง (ไฮโดรไลเสตของกากมันสำปะหลัง) ด้วยกรดไฮโรคลอริกและเอนไซม์ 3 ชนิดต่อเนื่องกัน (เซลลูเลส, แอลฟา-อะไมเลส และกลูโคอะไมเลส) พบว่าน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยกรดปริมาณ 10% (น้ำหนัก/ปริมาตร) และย่อยด้วยเอนไซม์ปริมาณ 25% (น้ำหนัก/ปริมาตร) มีน้ำตาลรีดิวซ์สูงสุด 0.28 และ 0.14 กรัม/กรัมน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ผลการหมักเอทานอลจากน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยกรดและเอนไซม์โดย Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 (SC 90) พบว่าน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยเอนไซม์ให้เอทานอลสูงกว่าน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยกรด 62.47% และเมื่อนำน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยเอนไซม์มาหมักร่วมกับกากน้ำตาลที่ความเข้มข้นน้ำตาลทั้งหมดเริ่มต้น 24.5% (น้ำหนัก/ปริมาตร) พบว่าได้เอทานอลสูงสุด 6.67% (น้ำหนัก/ปริมาตร) และเมื่อเติมโพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (KH2PO4) 0.8% (น้ำหนัก/ปริมาตร) ลงไปหมักร่วมด้วยทำให้เอทานอลที่ได้สูงสุดเพิ่มขึ้นเป็น 7.09% (น้ำหนัก/ปริมาตร) นอกจากนี้การหมักน้ำที่ได้จากการย่อยกากมันสำปะหลังด้วยเอนไซม์ที่มีกากใยมันสำปะหลังที่เหลือหลังการย่อยด้วยเอนไซม์ปริมาณ 3% (น้ำหนัก/ปริมาตร) ผลผลิตเอทานอลสูงสุดที่ได้เพิ่มขึ้นเป็น 7.44% (น้ำหนัก/ปริมาตร) | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Immunology and Microbiology | - |
dc.title | Increase of ethanol production from molasses by co-fermentation with cassava waste hydrolysate | - |
dc.title.alternative | การเพิ่มการผลิตเอทานอลจากกากน้ำตาลโดยการหมักร่วมกับไฮโดรไลเสตของกากมันสำปะหลัง | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Science | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | Microbiology and Microbial Technology | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.email.advisor | Ancharida.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5772001523.pdf | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.