Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65467
Title: Carbon storage and soil respiration of newly created urban soil in CU Centenary Park
Other Titles: การกักเก็บคาร์บอนและการหายใจของดินที่ถมใหม่บริเวณอุทยานจุฬาฯ 100 ปี
Authors: Thanaporn Naka
Advisors: Pasicha Chaikaew
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Pasicha.C@chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Soil organic carbon (SOC) is the largest carbon pool in terrestrial ecosystems, whilst the most important process causing carbon loss from soils is soil respiration (Rs). Both SOC and Rs directly link to the atmospheric carbon dioxide absorption. Despite a great deal of research, there currently remains uncertainty whether urban park soils have potential to sequester carbon or release more carbon to the air. Twenty-nine soil samples were collected at a 15-cm depth across the CU Centenary Park. Soil physical and chemical properties were measured to explain SOC stocks and Rs rates. Annually, average SOC stocks and Rs rates were 2.29±1.73 kg C m⁻² and 3.44±2.05 kg C m⁻² y⁻¹, respectively. Values of SOC stocks and Rs rates significantly varied across lawn grass, bush/weeds, and soils surrounded by trees. Two principal components, derived by principal component analysis (PCA), occupied 67.7% of the total explained variance. The first principal component was dominated by organic matter, SOC, clay particles, and soil temperature, explaining 48.7% of the total variance. The second component was loaded by soil bulk density, Rs, and soil moisture, accounting for 19.0% of the total variance. Overall, the carbon exchange process highlighted a major mechanism of carbon emissions from the soil systems. This study recommended growing bushes or weeding plants to increase more SOC storage. Controlling factors described by PCA should also be taken into consideration in order to increase SOC stock and reduce CO₂ in the urban atmosphere.
Other Abstract: ดินเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ (SOC) ที่ใหญ่ที่สุดในระบบนิเวศบก ขณะที่กระบวนการสูญเสียคาร์บอนอินทรีย์ในดินส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการการหายใจของดิน(Rs) ซึ่งปริมาณการกักเก็บและปลดปล่อยคาร์บอนในดินนั้น เชื่อมโยงกับประสิทธิภาพการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ การกักเก็บคาร์บอนในดินจึงควรมีมากกว่าหรือใกล้เคียวกับอัตราการหายใจของดิน งานวิจัยส่วนมากไม่ได้มุ่งเน้นถึงการศึกษาศักยภาพของการกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์และการปลดปล่อยคาร์บอนในพื้นที่สวนสาธารณะในเมือง การศึกษานี้จึงได้ทำการเก็บตัวอย่างดิน 29 จุดที่ระดับความลึก 15 เซนติเมตรเพื่อนำมาวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมีเพื่ออธิบายศักยภาพในการกักเก็บและปลดปล่อยคาร์บอนอินทรีย์ในดินบริเวณอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ผลจากการศึกษาพบว่า คาร์บอนอินทรีย์ในดินมีค่าเฉลี่ย 2.29±1.73 kg C m⁻² และอัตราการหายใจของดินมีค่าเฉลี่ย 3.44±2.05 kg C m⁻²y⁻¹ ซึ่งค่าเฉลี่ยดังกล่าวมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญตามลักษณะพื้นที่ คือ สนามหญ้า, พุ่มไม้/วัชพืช และพื้นที่ที่ล้อมรอบด้วยต้นไม้ใหญ่ เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลด้วยเทคนิค Principal Component Analysis ( PCA ) สามารถอธิบายได้ด้วย 2 องค์ประกอบ คิดเป็น 67.7% ของความแปรปรวนทั้งหมด โดยองค์ประกอบแรก (48.7%) ประกอบด้วย ปริมาณอินทรียวัตถุ,คาร์บอนอินทรีย์ในดิน,ปริมาณอนุภาคดินเหนียว และ อุณหภูมิดิน ในขณะที่องค์ประกอบที่สอง (19%) ประกอบด้วย ความหนาแน่นดิน, อัตราการหายใจของดิน และความชื้นในดิน โดยภาพรวม อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ มีอัตราการหายใจของดินในระดับที่สูง เมื่อเทียบกับปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในดิน และเทียบกับพื้นที่สีเขียวบริเวณอื่น ๆ งานวิจัยนี้เสนอแนะให้เพิ่มการปลูกพืชประเภทไม้พุ่มหรือวัชพืชที่มีประโยชน์ พร้อมทั้งพิจารณาปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เพื่อเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนในดิน และลดอัตราการหายใจของดินในเขตเมือง
Description: In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Program in Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65467
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanaporn Na_Se_2561.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.