Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิส เหมินทร์-
dc.contributor.advisorภฑิตา ภูริเดช-
dc.contributor.authorวิลาวัลย์ พฤกษาธำรงกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-17T06:14:44Z-
dc.date.available2020-06-17T06:14:44Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741438788-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66442-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ปกครองในการอนุญาตให้ลูกอายุ 1-3 ปี รับประทานขนม ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนของ Ajzen กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาล 4 แห่ง ในเขต อ.เมือง และ อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ จำนวน 250 คน ซึ่งได้ตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามแนวทางทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน มีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมาทั้งสิ้น 178 คน คิดเป็นร้อยละ 70 ผลการศึกษาพบว่า เจตคติทางตรง (β = .39 , p< .01) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (β = .12, p > .05 ) และการรับรู้การควบคุม พฤติกรรมทางตรง (β = .18, p < .05 ) ร่วมกันสามารถทำนายเจตนาเชิงพฤติกรรมได้ร้อยละ 24 โดยมีความเชื่อที่สามารถทำนายเจตนาเชิงพฤติกรรม คือ 1.ขนมเป็นอันตราต่อสุขภาพ (β = .32 , p< .001) และ 2.ขนมทำให้ลูกมีความสุข(β = .16, p < .05 ) กลุ่มอ้างอิงที่สามารถทำนายเจตนาเชิงพฤติกรรม คือ 1. ญาติพี่น้อง (β = .20, p < .01 ) และ 2. ครู (β = .24, p < .01 ) ปัจจัยที่สามารถทำนายเจตนาเชิงพฤติกรรม คือ 1. ขนมไม่ทำให้เกิดอันตราต่อสุขภาพ (β = .28, p < .001 ) 2.ความต้องการของลูกในการรับประทานขนม (β = .24, p < .01 ) และ 3.เมื่อลูกทำในสิ่งที่ผู้ปกครอง (β = .22, p < .01 ) ส่วนเจตนาเชิงพฤติกรรมและการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมไม่สามารถทำนายพฤติกรรม( p > .05 ) อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์พบว่า ความต้องการของลูก(β = .24, p < .01 ) เป็นปัจจัยสามารถทำนายพฤติกรรมในการอนุญาตให้ลูกรับประทานขนม-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the factors related to parental behavior in allowing 1-3 years old children to eat snacks using Ajzen’s theory of planned behavior. The samples consisted of 250 parents who had children studying at four nursery schools in Amphur Muang and Sankumpang, Chiang Mai Thailand. The questionnaires were developed based on the theory of planned behavior. One hundred and seventy four questionnaires were returned (response rate = 70 %). The results show that attitude (β = .39 , p< .01) subjective norm (β = .12 , p>.05) and perceived behavior control (β = .18 , p< .05) can significantly predict behavioral intention (R²=.24) The behavioral beliefs that can predict behavioral intention are 1. Hazard of snacks to general health (β = .32, p< .001) and 2.Snacks make children happy (β = .16, p< .05). The important referent groups that can predict behavioral intention are 1.Relatives (β = .20, p< .01) and 2. Teachers (β = .24, p< .01).The factors that can predict behavioral intention are 1. Being harmless to general health (β = .28, p< .001) 2. Child’s need to eat snacks (β = .24, p< .01) and 3. Being parental rewards when children do as parents want (β = .22, p< .01). However, behavioral intention and perceived behavioral control are unable to predict the parental behavior. The only factor that can predict the behavior is the child’s need to eat snacks (β = .24, p< .01).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ปกครองกับเด็กen_US
dc.subjectฟันผุในเด็กen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectอาหารว่างen_US
dc.subjectบริโภคนิสัยen_US
dc.subjectParent and childen_US
dc.subjectDental caries in childrenen_US
dc.subjectHealth behavioren_US
dc.subjectSnack foodsen_US
dc.subjectFood Habitsen_US
dc.titleการทำนายพฤติกรรมของผู้ปกครองในการอนุญาตให้ลูกอายุ 1-3 ปี รับประทานขนมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนen_US
dc.title.alternativePrediction of parental behavior in allowing 1-3 years old children to eat snacks : using theory of planned behavioren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorHdhanis@chula.ac.th-
dc.email.advisorPatita.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilawan_pr_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ938.24 kBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch1_p.pdfบทที่ 11.09 MBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch2_p.pdfบทที่ 21.75 MBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch3_p.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch4_p.pdfบทที่ 4870.14 kBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch5_p.pdfบทที่ 5909.41 kBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_ch6_p.pdfบทที่ 6621.32 kBAdobe PDFView/Open
Wilawan_pr_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.