Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67381
Title: Volatile organic compound removal via catalytic combustion
Other Titles: การกำจัดสารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้โดยผ่านกระบวนการเผาไหม้ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา
Authors: Rungrodj Roonprapun
Advisors: Schwank, Johannes W
Vissanu Meeyoo
Thirasak Rirksomboon
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: No information provided
No information provided
Thirasak.R@Chula.ac.th
Subjects: Volatile organic compounds
Combustion
Catalysts
สารประกอบอินทรีย์ระเหย
การเผาไหม้
ตัวเร่งปฏิกิริยา
Issue Date: 1999
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Catalytic combustion of volatile organic compounds (VOCs), present in trace concentrations from effluent streams, is a promising air abatement technology. The oxidation of diethylamine (DEA) has been investigated over three types of commercial catalysts, Pt, Pd, and Rh supported on ceramichoneycombed monolith. The palladium (Pd) catalyst was found to be the most active catalyst in terms of DEA oxidation. The conversion to CO2 becomes appreciable in the range of 250 - 280 °C while the percentage of conversion greater than 95 was obtained at about 320 °C. The reaction rate was depended on diethylamine concentration whereas the oxygen concentration did not affect to the reaction rate. By increasing DEA concentration, the reaction rate was increased. The reaction rate was also increased with increasing the reaction temperature. The reaction order with respect to DEA concentration was in the range of 0 to 1 whereas it was found to be close to zero with respect to oxygen concentration. The apparent activation energies of the reaction over the Pd catalyst were determined to be 18.80, 9.85, and 2.14 kcal/mole in the chemical kinetic, pore diffusion, and bulk mass transfer regions, respectively.
Other Abstract: กระบวนการเผาไหม้ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างหนึ่งที่ใช้ในการ กําจัดสารประกอบอินทรีย์เคมีที่ระเหยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมักถูกปล่อยสู่บรรยากาศ เทคโนโลยีดังกล่าวนิยมใช้กันมากเนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่ประหยัดและให้ประสิทธิภาพสูงเมื่อ เทียบกับเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีใช้กันมา ได้ศึกษาปฏิกิริยาออกซิเคชั่นของสารประกอบไดเอธิลเอมีน โดยใช้กระบวนการดังกล่าวบนตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงการค้าสามชนิดที่มีคุณสมบัติช่วยกระตุ้นให้เกิด ปฏิกิริยา คือ โลหะแพลทตินัม, พาลาเดียม, และ โรเดียม โดยโลหะดังกล่าวเกาะและกระจายอยู่บน ตัวรองรับชนิดเซรามิกโครงสร้างรูปรังผึ้ง จากการทดลองพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะพาลาเดี ยมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ดีที่สุดในการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของสารประกอบไดเอธิลเอมีน การ เปลี่ยนองค์ประกอบจากการเกิดปฏิกิริยาไปเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เริ่มเกิดขึ้นในช่วง อุณหภูมิ 250 ถึง 280 องศาเซลเซียส และพบว่าการเปลี่ยนมากกว่าร้อยละ 95 เกิดที่อุณหภูมิ ประมาณ 320 องศาเซลเซียส จากการศึกษาผลกระทบของความเข้มของสารตั้งต้นและอุณหภูมิที่มี ผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาพบว่า ความเข้มข้นเริ่มต้นของสารประกอบไดเอทธิลเอมีนเท่านั้นที่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเกิดปฏิกิริยา ส่วนอุณหภูมิของปฏิกิริยามีผลต่ออัตราการเกิด ปฏิกิริยาโดยการเพิ่มของอุณหภูมิส่งผลให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น สําหรับอันดับของ ปฏิกิริยาเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารปะกอบไดเอธิลเอมีนมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 คือ 0.56 และเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของก๊าซออกซิเจนในช่วงความเข้นข้นที่ศึกษา ค่าพลังงาน กระตุ้นที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาบนตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะพาลาเดียมพบว่ามีค่า 18.8, 9.85, 2.14 กิโล แคลอรี่ต่อโมล ในช่วงที่กลไกของปฏิกิริยาถูกควบคุมด้วยกลไกทางเคมี กลไลการแพร่ผ่านรูพรุน บนตัวเร่งปฏิกิริยา และกลไกการถ่ายเทมวลในวัฏภาคของก๊าซมายังผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา ตามลําดับ
Description: Thesis (M.Sc.) -- Chulalongkorn University, 1999
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67381
ISBN: 9743319042
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungrodj_ro_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ860.81 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_ch1_p.pdfบทที่ 1791.95 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_ch2_p.pdfบทที่ 2942.6 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_ch3_p.pdfบทที่ 3850.16 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_ch4_p.pdfบทที่ 4999.66 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_ch5_p.pdfบทที่ 5627.54 kBAdobe PDFView/Open
Rungrodj_ro_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก778.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.