Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68070
Title: Solvothermal synthesis of spinel-type zinc gallate and zinc aluminate powders
Other Titles: การสังเคราะห์ผงซิงค์แกลเลตและ ซิงค์อะลูมิเนตประเภทสไปเนลโดยวิธีโซลโวเทอร์มอล
Authors: Paveena Sangthonganothai
Advisors: Suphot Phatanasri
Piyasan Praserthdam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: suphot.p@chula.ac.th
piyasan.p@chula.ac.th
Subjects: Spinel
Zinc gallate
Zinc aluminate
Solvothermal
สปิเนล
ซิงค์แกลเลต
ซิงค์อะลูมิเนต
โซลโวเทอร์มอล
Issue Date: 2000
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: Thermal reaction of zinc acetate and gallium acetylacetonate,stoichiometric ratio Zn/Ga = 0.50, in 1,4-butanediol (glycol organicmedia), 1-butanol and 2-propanol (alcohol organic media) at 300(+,ฐ)C underautogeneous pressure yielded nanocrystalline spinel zinc gallate withdiameter between 8 and 19 nm and BET surface area between 52 and 113 m2g-1. However, the reaction of them did not take place and not yielded zincgallate in toluene. As thermal reaction of zinc acetate and aluminiumisopropoxide took place in all type of organic media (1,4-butanediol,1-butanol, 2-propanol and toluene). That yielded the nanocrystalline zincaluminate with diameter between 7 and 11 nm and BET surface area between 80and 198 m2 g('-1). When the reaction of crystallite formation occursrapidly and so does the crystallization of the products then obtainas-synthesized well-crystallized spinel zinc gallate and zinc aluminatehaving high thermal stability. In this work; found that crystallite sizesof zinc gallate and zinc aluminate depend on type of the organic solvent.As for thermal stability of zinc gallate and zinc aluminate not depend ontype of organic solvent but on the crystallite size. Thermal stability ofzinc aluminate is better than zinc gallate in early calcinationtemperature. Conversely, at higher calcination temperature, zinc gallate ismore stable than zinc aluminate. And the thermal stability decreasing ofzinc aluminate is higher than zinc gallate when crystallite size isdecreased. However, the presence of the second metal in the structure couldbe increased the thermal stability of the single metal oxide.
Other Abstract: ปฏิกิริยาทางความร้อนของซิงค์อะซิเตตและแกลเลียมอะซิติลอะซิโตเนตตามปริมาณสารสัมพันธ์ (อัตราส่วนโดยอะตอมของสังกะสีต่อแกลเลียมเท่ากับ 0.50) ในตัวทำละลายอินทรีย์ประเภทไกลคอล(1,4-บิวเทนไดออล์) และสารละลายอินทรีย์ประเภทแอลกอฮอล์(1-บิวทานอล และ 2- โพรพานอล) ที่อุณหภูมิการทำปฏิกิริยา 300องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะการเพิ่มขึ้นของความดันตามอุณหภูมิจะให้ผลิตภัณฑ์เป็น ซิงค์แกลเลตที่มีโครงสร้างผลึกเป็นแบบสไปเนลที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 ถึง 19 นาโนเมตร และพื้นที่ผิว 52ถึง 113 ตารางเมตรต่อกรัม ส่วนในตัวทำละลายอินทรีย์ที่เฉื่อยต่อปฏิกิริยา (โทลูอีน) ไม่เกิดปฏิกิริยาให้ซิงค์แกลเลต แต่ปฏิกิริยาทางความร้อนของซิงค์อะซิเตตและอะลูมิเนียมไอโซพรอกพอกไซด์สามารถเกิดขึ้ นได้ ในตัวทำละลายอินทรีย์ทุกชนิดดังกล่าวให้ผลิตภัณฑ์เป็นซิงค์อะลูมิเนตที่มีโครงสร้างผลึกแบบสไปเนล มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 ถึง 11 นาโนเมตร และพื้นที่ผิว 80 ถึง 198ตารางเมตรต่อกรัม สมบัติทางกายภาพและความเสถียรทางความร้อนของซิงค์แกลเลตและซิงค์อะลูมิเนตที่ทำการสังเคราะห์ขึ้นสามารถที่จะควบคุมได้โดยปฏิกิริยาของการเกิดผลึกซึ่งขึ้นกับชนิดของตัวทำละลายนอกเหนือจากสภาวะการเกิดปฏิกิริยา และโครงสร้างของกลุ่มอัลคิลของโลหะอัลคอกไซด์ปฏิกิริยาของการเกิดผลึกที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วจะทำให้การตกผลึกของผลิตภัณฑ์เกิดเป็นซิงค์แกลเลตและซิงค์อะลูมิเนตที่มีโครงสร้างผลึกแบบสไปเนลที่สมบูรณ์และมี ความเสถียรทางอุณหภูมิสูงในงานวิจัยนี้ พบว่า ขนาดผลึกของซิงค์แกล-เลตและซิงค์อะลูมิเนตเปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของตัวทำละลายอินทรีย์ที่ใช้แต่ความเสถียรทางความร้อนของซิงค์แกลเลตและซิงค์อะลูมิเนตไม่ขึ้นกับชนิดของตัวทำละลายอินทรีย์ที่ใช้แต่ขึ้นโดยตรงกับขนาดผลึก นอกจากนี้ยังพบว่า ซิงค์อะลูมิเนตมีความเสถียรทางความร้อนสูงกว่าซิงค์แกลเลตที่ช่วงอุณหภูมิในการคัลไซน์ที่ไม่สูงแต่เมื่ออุณหภูมิในการคัลไซน์ สูงขึ้นซิงค์แกลเลตกลับมีความเสถียรทางความร้อนที่ดีกว่า อย่างไรก็ตามการลดลงของความเสถียรทาง ความร้อนของซิงค์อะลูมิเนตจะมากกว่า ซิงค์แกลเลตเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดผลึกเพียงเล็กน้อยแต่การมีโลหะตัวที่สองอยู่ในโครงสร้างจะช่วยเพิ่มความเสถียรทางความร้อนให้กับโลหะออกไซด์ได้
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68070
ISSN: 9741304218
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paveena_sa_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ469.28 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch1.pdfบทที่ 178.08 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch2.pdfบทที่ 2129.92 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch3.pdfบทที่ 3463.43 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch4.pdfบทที่ 4301.63 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch5.pdfบทที่ 513.05 MBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_ch6.pdfบทที่ 637.26 kBAdobe PDFView/Open
Paveena_sa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก895.75 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.