Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71217
Title: Regeneration of Pt/KL catalysts utilized for n-octane aromatization
Other Titles: รีเจนเนอเรชันของตัวเร่งปฏิกิริยาแพลตินัม/โพแทสเซียมซีโอไลต์แอลซึ่งใช้สำหรับปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มัล-ออแเทน
Authors: Dholporn Lertkijcharoenwong
Advisors: Somchai Osuwan
Thirasak Rirksomboon
Resasco, Daniel E
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Aromatization is one of the most important petrochemical processes for aromatic production. Pt/KL catalyst prepard by Vapor Phase Impregnation method is known to be an effective catalyst for n-octane aromatization. However, during the reaction, catalysts deactivate due to coke formation. Consequently, it is common practice to regenerate the catalysts to recover their activity. Hence, the attempt of this work is to investigate the influences of air flow rate, temperature and time of regeneration by coke oxidation in air to determine the optimal regeneration conditions of such catalysts. In addition, oxychlorination treatment was also studied to redisperse Pt particles after regeneration in air. It was found that the optimal regeneration temperature, time and air flow rate was 250C, 0.5 h and 100 ml/min/g. of catalysts, respectively. Moreover, it was clearly seen that regeneration with oxychlorination treatment can restore Pt redispersion as close as that of the fresh catalysts.
Other Abstract: ปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันเป็นปฏิกิริยาสำคัญปฏิกิริยาหนึ่งในการผลิตสารอะโรมาติกซ์ ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมบนซีโอไลต์แอล (Pt/KL) ซึ่งเตรียมโดยวิธีระเหิดสารประกอบโลหะแพลทินัมเข้าไปยังโพรงของซีโอไลต์ (vapor phase impregnation) ได้รับการยอมรับว่าเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพสำหรับปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มัล-ออกเทน อย่างไรก็ตามในระหว่างการเกิดปฏิกิริยา ความว่องไวในการทำปฏิกิริยาลดลงเนื่องจากการเกิดโค้ก ดังนั้นจึงต้องเร่งตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อคืนสภาพความว่องไวในการทำปฏิกิริยา งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของความเร็วของอากาศ, อุณหภูมิ และเวลาที่ใช้ในการปรับสภาพด้วยวิธีโค้กออกซิเดชันในอากาศ เพื่อหาสภาวะการปรับสภาพที่เหมาะสมของตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าว นอกจากนี้ยังได้มีการศึกษาการทำออกซีคลอรีเนชัน (Oxychlorination Treatment) เพื่อคืนการกระจายอนุภาคแพลทินัมหลังจากกาปรับสภาพในอากาศ ผลการศึกษาพบว่าสภาวะอุณหภูมิ, เวลาที่ใช้ และความเร็วของอากาศที่เหมาะสมคือ 250 เซลเซียส, 0.5 ชั่วโมง และ 100 มิลลิลิตร/นาที/กรัมของตัวเร่งปฏิกิริยาตามลำดับ นอกจากนี้ได้พบว่าการปรับสภาพที่มีการทำออกซีคลอรีเนชันสามารถคืนการกระจายอนุภาคแพลทินัมได้ใกล้เคียงกับการกระจายอนุภาคแพลทินัมของตัวเร่งปฏิกิริยาใหม่
Description: Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71217
ISSN: 9741722796
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dholporn_le_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ875.37 kBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_ch1_p.pdfบทที่ 1638.84 kBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_ch2_p.pdfบทที่ 2781.25 kBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_ch3_p.pdfบทที่ 3838.23 kBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_ch4_p.pdfบทที่ 41.54 MBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_ch5_p.pdfบทที่ 5614.76 kBAdobe PDFView/Open
Dholporn_le_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก878.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.