Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรจิตลักขณ์ แสงอุไร-
dc.contributor.authorสุทธิวรรณ ตัญญพงศ์ปรัชญ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-17T03:34:04Z-
dc.date.available2020-12-17T03:34:04Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383922-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71609-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบปริมาณการนำเสนอข่าวเด็ก, ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก, การใช้ภาษาและภาพข่าวของข่าวเด็กในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์รายวันจำนวน 6 ชื่อฉบับได้แก่ นสพ.ไทยรัฐ เดลนิวส มติชน สยามรัฐ แนวหน้า บ้านเมือง ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. ถึง 31 ธ.ค.2539 จากการวิจัยพบว่า นโยบายการคัดเลือกข่าวหน้าหนึ่ง ส่งผลต่อปริมาณการนำเสนอข่าวเด็ก โดยหนังสือพิมพ์ที่มีนโยบายเสนอข่าวการเมืองและข่าวเศรษฐกิจในหน้าหนึ่ง จะเสนอข่าวเด็ก ในปริมาณที่น้อยกว่า หนังสือพิมพ์ที่เน้นการรายงานเหตุการณ์พี่เกิดขึ้นในแต่ละวัน สำหรับประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก พบว่า ทุกฉบับคัดเลือกข่าวโดยคำนึงถึงความรุนแรงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับเด็ก หรือสภาพทุกข์ทรมานของเด็ก ซึ่งเป็นภาพที่สร้างความสะเทือนใจให้กับผู้อ่าน มากกว่าการนำเสนอความรุนแรงของปัญหาที่เป็นภัยคุกคามเด็ก ด้านการใช้ภาษาและภาพข่าวพบว่าหนังสือพิมพ์มักใช้คำหยาบคาย ในการเขียนหัวข่าวและความนำ ส่วนเนื้อข่าวมักจะระบุชื่อ นามสกุล ของเด็กที่ตกเป็นข่าว และรายละเอียดของเหตุการณ์หรือสภาพร่างกายของเด็ก ส่วนภาพข่าวนั้น หนังสือพิมพ์มักลงภาพศพ หรือใบหน้าของเด็กค่อนข้างชัดเจน ด้านความคิดเห็นของผู้อ่านหนังสือพิมพ์รายวัน พบว่า ผู้อ่านส่วนใหญ่เห็นว่าหนังสือพิมพ์ นำเสนอข่าวเด็กไม่เหมาะสม ละเมิดต่อสิทธิเด็ก แต่พบว่า มีผู้อ่านเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มีปฏิกิริยา ต่อต้านต่อการนำเสนอข่าวเด็กที่ไม่เหมาะสม โดยการโทรศัพท์หรือส่งจดหมายไปตำหนิการกระทำของหนังสือพิมพ์ในขณะที่ผู้อ่านส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นเรื่องของหนังสือพิมพ์ที่จะต้องสร้างจิตสำนึกกันเอง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study and compare the volume of front-page coverage of children news , the problems and issues relating to children , the use of language including news (press) photos of children in six Thai daily newspapers : Thai Rath , Daily News , Matichon , Siam Rath , Ban Muang and Naew Na , from January 1 St to December 31 St 1996 It is found that the policy of news selection has a certain impact on the volume of children news reporting. That is 1 quality newspapers tend to cover less children news than popular newspapers As regards the problems and issues relating to children , it is found that every newspaper selects news concentrating on the severity of incidents or suffering of the children involved in order to mentally move the readers 1 instead of focusing on the stringency of the problems presecute. In terms of the use of language and news photos 1 it is found that most newspapers use rude words in their headlines and leads. เท the body of news itself 1 the names and family names ๙ the children are almost always specified or revealed . Furthermore 1 the newspapers tend to publish photos of the corpse of child victims including their faces quite explicitly. As far as the readers’ opionions are concerned , it is found that most readers do not agree with the policy of front-page coverage of children of each newspaper, which strongly violate human right. At any rate , only a small number of them take action against improper news coverage of children . Most readers feel that it is the responsibility of each newspapers to indulge proper conscience upon themselves.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- ไทย-
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าว-
dc.subjectเด็ก-
dc.subjectNewspapers -- Thailand-
dc.subjectReporters and reporting-
dc.subjectChildren-
dc.titleการนำเสนอข่าวเกี่ยวกับเด็กในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์รายวัน-
dc.title.alternativeFront-page coverage of children in Thai daily newspapers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorRachitluk.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suttiwan_ta_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ315.12 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_ch1.pdfบทที่ 1394.89 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_ch2.pdfบทที่ 2387.34 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_ch3.pdfบทที่ 3327.64 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_ch4.pdfบทที่ 4914.29 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_ch5.pdfบทที่ 5469.11 kBAdobe PDFView/Open
Suttiwan_ta_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก5.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.