Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7163
Title: ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นวิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธรรมวิทยา และความพึงพอใจของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2545 : รายงานการวิจัย
Other Titles: Effects of the teaching-learning process with an emphasis on Buddhist Samanyalaksana of Dhammavidya on the 2002 Chulalongkorn University students' achievement and satisfaction
Authors: อมรา รอดดารา
Email: ไม่มีข้อมูล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Subjects: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย--นิสิต
ธรรมวิทยา--การศึกษาและการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ไตรลักษณ์
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาธรรมวิทยา โดยนำพุทธวิธีในการสอนมาใช้ควบคู่กับการสอนแบบปกติ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสามัญลักษณ์ตามหลักการคิดของพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เรียนวิชานี้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2545 จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ประการคือ (1) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้และหลักการคิดเรื่องสามัญลักษณ์ (3) แบบประเมินการจัดการเรียนการสอน สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนก่อนทดลองและหลังการทดลอง โดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแนวคิดเรื่องสามัญลักษณ์ของผู้เรียนหลังจากเรียนจบแล้วมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 2. ผู้เรียนส่วนใหญ่พึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นวิธีคิดแบบสามัญลักษณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นทั้งในช้นเรียนและนอกสถานที่
Other Abstract: The purpose of this study was to develop the teaching and learning of the course Dhammavidya by using the Buddhist instructional method along with the regular method. The class activities emphazied Buddhist Samanyalaksana. The participants in this study were 110 Chulalongkorn University students who enrolles in this course in the first semester of 2002 academic year. The research instruments consisted of (1) academic achievement test, (2) achievement test on Samanyalaksaba concept, adn (3) course evaluation. Data analysis was a comparison of the means and standard deviations of the participants' achievement before and after the experiment. The research results were as follows: 1. The means of the participants' academic achievement and achievement of knowledge of Samanyalaksana were higher after they had completed the course, which corresponded with the research hypothesis. 2. The majority of the participants were satisfied with the instructed design with emphasis of Samanyalaksana as well as the activitiesconducted both in and outside the classroom.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7163
Type: Technical Report
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amara(eff).pdf10.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.