Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7171
Title: การวิจัยปรอทในก๊าซธรรมชาติ : รายงานฉบับสมบูรณ์
Authors: จินตนา สายวรรณ์
Email: Chintana.Sa@chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
Subjects: ก๊าซธรรมชาติ
ปรอท
Issue Date: 2535
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาปรอทในก๊าซธรรมชาติโยใช้เทคนิค cold vapor atomic absorption spectrometry (CV-AAS) ได้ศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคของ Jerome ที่ใช้ dosimeter เป็นตัวจับปรอท พบว่า วิธี CV-AAS หาความเข้มข้นปรอทจากตัวอย่างเดียวกัน ได้สูงกว่าวิธี Jerome-dosimeter เกิน 50 % การใช้ dosimeter จับปรอทในก๊าซธรรมชาติ พบว่า บางครั้ง ประสิทธิภาพการจับปรอทของ dosimeter ลดลง และยังพบว่า บางครั้งการ desorption ปรอทออกจาก dosimeter เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ทำให้การอ่านค่าความเข้มข้นปรอทผิดพลาด โยสรุป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอ่านคำถูกต้องของ Jerome-dosimeter มี 3 ประการ คือ 1) ประสิทธิภาพของ dosimeters 2) ความถูกต้องของเครื่อง Jerome และ 3) ตัวรบกวนการจับปรอทที่อาจมีตัวอย่างก๊าซธรรมชาติ การศึกษาความเสื่อมสภาพของ dosimeters โดยวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของ dosimeters พบว่า มีค่าสูงเกิน 15 Ohms การศึกษาประสิทธิภาพของ dosimeters โดยใช้ไอปรอทและอ่านค่าด้วย Jerome พบว่าประสิทธิภาพการจับปรอทอยู่ช่วง 60-89% ความถูกต้องของค่าที่อ่านได้นี้ ยังขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของตัวเซ็นเซอร์ใน Jerome ซึ่งได้ศึกษาโดยทดสอบการทำงานที่เรียกว่า "functional test" พบว่า ประสิทธิภาพของ Jerome โดยเฉลี่ย 83 % เมื่อเทียบกับมวลปรอทที่ฉีดเข้าเซ็นเซอร์ การใช้ calibration curve ที่สร้างจากความสัมพันธ์ของค่าที่ Jerome อ่าน กับมวลปรอท สามารถแก้ไขการหาปริมาณของ Jerome ให้ถูกต้องได้ แต่ไม่สานารถแก้ไขปัญหาที่อ่านค่าได้ต่ำเนื่องจากตัวรบกวนบางอย่างในก๊าซธรรมชาติได้ การใช้ CV-ASS ที่ absorption cell มี pathlength 18 ซม. และเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ซม. สามารถเพิ่ม sensitivity ของปรอทได้ต่ำถึง 0.2 ng ได้ใช้ cell ที่ทำขึ้นนี้ หาประสิทธิภาพของ dosimeters ใหม่ โดยอ่านค่า absorbance ของไอปรอทที่ได้จากการ desorption ปรอท ออกจาก dosimeter เทียบกับ absorbance ของไอปรอทที่ฉีดเข้า absorption cell โดยตรง พบว่าประสิทธิภาพของ dosimeters ที่ได้ ส่วนใหญ่เกินกว่า 95 % สารละลายจับปรอทและปรอทอินทรีย์ ที่ศึกษามี acetone, toluene, nitric acid,และ พบว่า ทุกสารละลายจับปรอทอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอัตราการจับที่ 200 มล./นาที ที่ใช้ในการทดลอง (ยกเว้น acetone จับปรอทได้ประมาณ 90 %) แต่ได้เลือกใช้สารละลาย เป็นตัวจับปรอทในก๊าซธรรมชาติที่เหมาะสมที่สุด การวัดค่า absorbance ของไอปรอทที่ได้จากสารละลาย ตามวิธีของ CV-AAS เข้าสู่ absorption cell โดยตรง พบว่า ให้ sensitivity ไม่ดี เนื่องจากยังเหลือปรอทละลายอยู่ในสารละลาย สูง จึงใช้ dosimeter เป็นตัวจับปรอทที่ออกมาจากสารละลาย ก่อน และจึงทำการ desorption เข้าสู่ absorption cell วัดด้วย ASS ทำให้ได้ sensitivity ของการวัดปรอท อยู่ในระดับ 1 ng การหาปริมาณปรอทในตัวอย่าง ethane และ propane โดยจับปรอทด้วยสารละลาย และวัดด้วย AAS พบว่า ปริมาณปรอทใน ethane อยู่ในระดับ 0.3-1 และใน propane อยู่ในระดับ 0.2 -0.5 นอกจากนี้ พบว่า การหาปรอทใน ethane ที่ก่อนผ่านค่าด่านสกัดจับปรอท และหลังผ่านด่านสกัดจับ มีปริมาณปรอทไม่แตกต่างกัน
Other Abstract: Determination of mercury in natural gas by cold vapor atomic absorption spectrometry (CV-AAS) was studied was studied and compared with the Jerome technic using dosimeters to collect mercury in the sample. The mercury concentration of the same sample determined by CV-ASS was at least 50% greater than by the Jerome-dosimeter. It was found that the collection efficiency of dosimeters were sometime decrease and the desorption rates of mercury from the Jerome method was dependent on three important factors which were an collection efficiency of the dosimeter, the accuracy of Jerome, and any inter-ferences present in the natural gas samples. The electrical resistances of dosimeters were checked and found to be greater than 15 Ohms. The efficiency of dosimeters was calibrated with mercury vapor and found to be 60-89%. The Jerome was checked by performing the functional test and found that the response of the Jerome sensor to the mercury injection was an average of 83 percent. The calibration curve constructed from the mercury vapor and the Jerome readings could improve the accuracy of the Jerome and dosimeter measurement, however it could not correct the interferences in the natural gas samples. The CV-ASS using using the absorption cell which was 18 cm. Long and 1 cm. Diameter could increase the sensitivity of detection down to 0.2 ng. The system was used to check the efficiency of the dosimeters again by comparing the AAS absorbance readings of the mercury desorption from the dosimeter with the mercury vapor directly injected to the absorption cell. The result showed that efficiency of most dosimeters were greater than 95 percent. Acetone, toluene, nitric cid, and solutions were chosen and studies as alternative mercury absorption solution. It was found that most of the solution could completely absorb both mercury vapor and organomercury vapor (except acetone absorbed 90% mercury vapor) at 200 m1/min carrier gas flow rate. The solution was selected as the most suitable mercury absorption solution. However, the regeneration of the mercury vapor from the absorption solution gave poor sensitivity for the AAS measurement due to high solubility of mercury. The dosimeter previously show by AAS for high mercury collection efficiency was as the mercury preconcentrator to improve the sensitivity of AAS detection. The result showed that the detection limit was approximately 1 ng. By using the absorption solution and the CV-ASS method, the mercury concentration in the ethane and propane lines found to be 0.3-1 and 0.2-0.5 respectively. Furthermore, the mercury concentration in the ethane line after passing the mercury removal guard remained unchanged.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7171
Type: Technical Report
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chintana_petrol.pdf4.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.