Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71791
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประนอม โพธิยานนท์ | - |
dc.contributor.advisor | วันชัย ดีเอกนามกูล | - |
dc.contributor.author | นงลักษณ์ ประยูรรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-01-19T07:24:46Z | - |
dc.date.available | 2021-01-19T07:24:46Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746325566 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71791 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | - |
dc.description.abstract | ไลโอฟีไลเซชันเป็นกระบวนการหนึ่งซึ่งใช้ในการเตรียมเจลว่านหางจระเข้ให้อยู่ในรูปผงแห้ง กระบวนการนี้มีผลทำให้ค่าความเป็นกรด-ด่าง ความหนืด และปริมาณกลูโคส-แมนโนสในโพลิแซคคาไรด์ของเจลว่านหางจระเข้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่ไม่มีผลต่อปริมาณกรดอะมิโน carrier ซึ่งช่วยปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของผงเจลว่านหางจระเข้ ได้แก่ acacia 1.0% w/v, methylcellulose (15cps) 0.6% w/v และ polyvinylpyrrolidone (K30) 2.0% w/v ผลการทดสอบความคงสภาพทางกายของตำรับเหล่านี้และตำรับซึ่งผสมBronidox-L® 0.2% v/v, sodium metabisulfite 0.1% w/v และ EDTA 0.05% w/v พบว่าทุกตำรับมีความคงสภาพทางกายภาพดีเมื่อเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 6 เดือน รวมทั้งผ่านมาตรฐานการทดสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ตามข้อกำหนดของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง จากการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของกลูโคส-แมนโนสในโพลีแซคคาไรด์และกรดอะมิโนเมื่อเตรียมเสร็จใหม่ๆ ของทุกตำรับเท่ากันยกเว้นตำรับซึ่งผสม Bronidox-L®,sodium metabisulfite และ EDTA จะมีความเข้มข้นของกรดอะมิโนต่ำกว่าตำรับอื่น (p<0.05) ผลการเก็บผง เจลว่านหางจระเข้ทุกตำรับที่อุณหภูมิ 45º ซ, ความชื้นสัมพัทธ์ 75% เป็นเวลา 4 เดือนเพื่อศึกษาความคงสภาพทางเคมีในสภาพเร่งพบว่าตำรับซึ่งผสม Bronidox-L®,sodium metabisulfite และ EDTA มีความคงสภาพทางเคมีต่ำที่สุด ส่วนตำรับซึ่งผสม methylcellulose มีความคงสภาพทางเคมีใกล้เคียงกับผง เจลว่านหางจระเข้บริสุทธ์ ในขณะที่ตำรับซึ่งผสม acacia และ และ polyvinylpyrrolidone มีความคงสภาพทางเคมีมากกว่าผงเจลว่านหางจระเข้บริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามทุกตำรับมีความคงสภาพทางเคมีดีเมื่อเก็บในตู้เย็นและอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 4 เดือน | - |
dc.description.abstractalternative | Lyophilization was used as a process for preparation of dried Aloe vera gel. The Lyophilization process significantly decreased (p<0.05) the pH, viscosity and polysaccharide glucose and mannose content of Aloe vera gel but had no effect on the content of amino acids. The carrier found to improve the physical properties of the lyophilized Aloe vera gel were 1.0% w/v acacia, 0.6% w/v methylcellulose (15 cps), and 2.0% w/v polyvinylpyrrolidone (K30). Those formulations and the one containing 0.2% v/v Bronidox-L®,0.1% w/v sodium metabisulfite and 0.05% w/v EDTA showed good physical stabilities at ambient temperature for six months. They also passed various microbiological tests based on Thai Industrial Standard for Cosmetics. The initial concentrations of glucose and mannose in polysaccharide and amino acids of all preparations were comparable except the one containing Bronidox-L®, sodium metabisulfiteand EDTA which had lower content of amino acids than the others (p<0.05). All preparations were also kept at 45ºC and 75% relative humidity for four months to study accelerated chemical stability tests. The preparation containing Bronidox-L®, sodium metabisulfiteand EDTA had the lowest chemical stability. The chemical stability of the preparation containing methylcellulose was similar to that of the pure lyophilized Aloe vera gel. On the other hand, the preparations containing acacia and polyvinylpyrrolidone were more chemically stable than the pure lyophilized (p>0.05) at both the refrigerated and ambient temperature for four months. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ว่านหางจระเข้ | - |
dc.subject | เจล (ยา) | - |
dc.subject | Aloe barbadensis | - |
dc.subject | Gels (Pharmacy) | - |
dc.title | การตั้งตำรับเจลว่านหางจระเข้ในรูปผงแห้งโดยวิธีไลโอฟิไลเซชัน | - |
dc.title.alternative | Formulation of lyophilized aloe vera gel | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | เภสัชกรรม | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nonglak_pr_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ | 20.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 4.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 29.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 14.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 90.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nonglak_pr_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 211.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.