Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72253
Title: Catalytic hydrocracking of used polystyrene
Other Titles: คะทาลิติกไฮโดรแครกกิงของพอลิสไตรีนที่ใช้แล้ว
Authors: Darin Khomentrakarn
Advisors: Sophon Roengsumran
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: No information provinded
Subjects: Hydrocracking
Polystyrene
การแตกตัวด้วยไฮโดรเจน
โพลิสไตรีน
Issue Date: 1997
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Hydrocracking reactions of used polystyrene were performed with varying dual function catalysts (Ni/Sn/F on molecular sieve, Co/Sn/F on molecular sieve, Fe/Sn/F on molecular sieve and Fe/Sn/F on alumina catalysts). The variations were in the temperature, 325-350℃, catalyst concentration, 5-40% wt, hydrogen pressure, 350-500 psig for 1-3 hours and nitrogen pressure, 50-150 psig for 5-6 hours. The optimum catalyst type was Fe(5%)/Sn(5%)/F(2%) on molecular sieve that was a new catalyst type. The optimum conditions for hydrocracking of used polystyrene were an operating temperature of 350℃, 15% wt of catalyst and 400 psig hydrogen pressure for 1.5 hours. The optimum conditions for cracking of used polystyrene were a temperature of 350℃, 10% wt of catalyst and under 100 psig nitrogen pressure for 6 hours. The products from both conditions were liquid hydrocarbons that ethylbenzene was the main component and toluene and iso-propylbenzene were the second and third components.
Other Abstract: ศึกษาการแตกตัวไฮโดรเจนของพอลิสไตรีนที่ใช้แล้วด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาประเภท 2 หน้าที่ได้แก่ นิกเกิล-ดีบุก-ฟลูออไรด์บนโมเลคิวลาร์ซีฟ โคบอลต์-ดีบุก-ฟลูออไรด์บนโมเลคิวลาร์ซีฟ เหล็ก-ดีบุก-ฟลูออไรด์บนโมเลคิวลาร์ซีฟ และเหล็ก-ดีบุก-ฟลูออไรด์บนอะลูมินา ซึ่งการศึกษากระทำโดยการแปรค่าอุณหภูมิในช่วง 325-350 องศาเซลเซียส ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 5-40 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และภายใต้ความดันของแก๊สไฮโดรเจนในช่วง 300-500 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้ว ในเวลา 1-3 ชั่วโมง หรือภายใต้ความดันของแก๊สไนโตรเจนในช่วง 50-150 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้ว ในเวลา 5-6 ชั่วโมง ตัวเร่งปฏิกิริยาและภาวะที่เหมาะสมในการแตกตัวไฮโดรเจนของพอลิสไตรีนที่ใช้แล้ว คือตัวเร่งปฏิกิริยาที่ประกอบด้วย เหล็ก 5 เปอร์เซนต์, ดีบุก 5 เปอร์เซนต์, ฟลูออไรด์ 2 เปอร์เซนต์บนโมเลคิวลาร์ซีฟโดยใช้อุณภูมิ 350 องศาเซลเซียส ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 15 เปอร์เซนต์โดยน้ำหนัก และความดันของแก๊สไฮโดรเจน 400 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้วในเวลา 1.5 ชั่วโมง สำหรับภาวะที่เหมาะสมในการแตกตัวของพอลิสไตรีนที่ใช้แล้วภายใต้แก๊สไนโตรเจนคืออุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 10 เปอร์เซนต์โดยน้ำหนัก และความดันของแก๊สไนโตรเจน 100 ปอนด์ต่อลูกบาศก์นิ้วในเวลา 6 ชั่วโมง ผลที่ได้ของทั้งสองภาวะคือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งมีเอธิลเบนซินเป็นผลิตภัณฑ์หลัก และรองลงมาคือโทลูอินและ ไอโซโพรพิลเบนซิน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1997
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72253
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Darin_kh_front_p.pdf939.38 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_ch1_p.pdf527.1 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_ch2_p.pdf738.21 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_ch3_p.pdf845.37 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_ch4_p.pdf943.56 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_ch5_p.pdf237.03 kBAdobe PDFView/Open
Darin_kh_back_p.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.