Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72607
Title: Program for calculation of gasoline inventory in an oil depot
Other Titles: โปรแกรมสำหรับการคำนวณปริมาณน้ำมันเบนซินคงคลังในคลังเก็บน้ำมัน
Authors: Pitak Kiattalerngrit
Advisors: Jirdsak Tscheikuna
Suwat Limsuwan
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Jirdsak.T@Chula.ac.th
No information provinded
Subjects: Gasoline -- Storage
Delphi (Computer file)
แกสโซลีน -- การเก็บในคลัง
เดลฟาย (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The program for calculation of gasoline inventory in an oil depot is a tool for calculating quantity of gasoline for API ranging from 50 to 85. This developed program written in Delphi languages. Furthermore developed program extend effective calculate cover quantity of fuel oil for API ranging from 0 to 50 and it can calculate value API gravity at 600F. To operate the developed program, data of oil level, temperature of oil in tank, API and temperature as read value from hydrometer or use value API at 600F could be input by users. Results from comparison between developed program has value equal that of another program if the effect of expansion or contraction of tank from temperature of oil not considering. But if effect of temperature of oil is condition for consider the results of developed grogram will be correct value more than another program. According to calibration tank of Thailand use temperature at 860F for calculation oil quantity so the calculation by consider effect of temperature of oil will be correct values.
Other Abstract: ในการศึกษานี้เป็นการพัฒนาโปรแกรมสำหรับการคำนวณปริมาณแกสโซลีน คงคลังในคลังเก็บน้ำมันในช่วงองศาเอพีไอ (ATI)ตั้งแต่ 50-85 องศาเอพีไอ การพัฒนาโปรแกรมใช้ภาษาเดลไฟล์ในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้โปรแกรมยังได้ขยายความสามารถคำนวณครอบคลุมไปถึงปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงในช่วงองศาเอพีไอ ตั้งแต่ 0-50 องศาเอพีไอ และ สามารถใช้คำนวณค่าเอพีไอที่อุณหภูมิมาตรฐานสากล(60°F) การประมวลผลโปรแกรมสำหรับการคำนวณปริมาณน้ำมันคงคลังสามารถทำได้โดยการป้อนค่าตัวแปรต่างๆที่มีผลต่อการคำนวณปริมาณน้ำมันเช่นระดับของน้ำมันในถังที่ต้องการคำนวณ ระดับของน้ำในถัง(ถ้ามี) อุณหภูมิของน้ำมันในถังเก็บ ค่าเอพีไอ และ อุณหภูมิของน้ำมันที่อ่านค่าได้จากไฮโดรมิเตอร์ (Hydrometer) หรือ ป้อนค่าเอพีไอที่อุณหภูมิมาตรฐานสากล จากการเปรียบเทียบผลการคำนวณปริมาณน้ำมันคงคลังระหว่างโปรแกรมที่ได้มีการพัฒนาขึ้นและโปรแกรมที่ใช้อยู่ในปัจจุบันพบว่า ผลลัพธ์เท่ากันกับโปรแกรมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ถ้าไม่พิจารณาผลกระทบของการขยายตัวหรือ หดตัวของน้ำมันเนื่องจากอุณหภูมิของน้ำมันในถังเก็บ แต่ถ้าพิจารณาผลกระทบการขยายตัวและหดตัวของถังเก็บน้ำมันจะพบว่าการคำนวณปริมาณน้ำมันจากโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นจะให้ผลการคำนวณที่ถูกต้องมากกว่า เนื่องจากการสอบเทียบถังเก็บน้ำมันโดยกระทรวงพาณิชย์จะใช้อุณหภูมิที่มาตรฐานของประเทศไทย (86°F) สำหรับคำนวณปริมาณน้ำมันดังนั้นการคำนวณโดยพิจารณา ถึงผลกระทบเนื่องจากอุณหภูมิของน้ำมันในถังจะให้ค่าที่ถูกต้องกว่า
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72607
ISBN: 9741303939
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitak_ki_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ600.45 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch1_p.pdfบทที่ 1242.84 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch2_p.pdfบทที่ 2279.56 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch3_p.pdfบทที่ 3906.63 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch4_p.pdfบทที่ 42.32 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch5_p.pdfบทที่ 5605.56 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_ch6_p.pdfบทที่ 6239.45 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ki_back_p.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.