Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72996
Title: Comparision of determinants of foreign direct investment in Asean
Other Titles: การเปรียบเทียบปัจจัยการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน
Authors: Aut Vajiraphisutsoebhin
Advisors: Somchai Rattanakomu
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Investments, Foreign
ASEAN countries
การลงทุนของต่างประเทศ
กลุ่มประเทศอาเซียน
Issue Date: 1997
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: The study examines the determinants of foreign direct investment (FDI) in ASEAN, by employing the data during 1975-1996 in ASEAN countries ; Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, and Thailand. The study uses a macro equation to investigate the determinants of FDI. The main mechanism of the equation focuses principally on the net FDI inflow which is determined by macroeconomic factors. There are 8 determinants of FDI which be brought to study in the model ; the level of GNP, the change in GNP, the degree of openness, the government expenditure, labour cost, the exchange rate and the squared deviation of the exchange rate. The first five determinations will affect on FDI, but the last two determinations cannot be used because the ASEAN countries use the fixed exchange rate during 1975 to 1996. The level of GNP, the change in GNP, the degree of openness, and the government expenditure are the determinants which have positive impact on FDI, while labour cost has negative impact on FDI. Only the domestic investment has not been significant. In the part of empirical results, the level of GNP are significant in Indonesia, Malaysia, and Philippines, while labour cost are significant in only Singapore, and the government expenditure are significant in only Malaysia. The degree of openness are significant in Indonesia, Singapore and Thailand, and the change in GNP are significant in Philippines and Thailand. Therefore, the determinants of FDI in each countries in ASEAN are different. The net FDI inflow in the study is only net inward FDI inflow, not the amounts of inward and outward FDI. Therefore, the results of estimation show only the determinants of net inward FDI. For further study, a researcher can study the determinants of net outward FDI or the net amounts of inward and outward FDI. These other two definitions of FDI may give a different result when compared with this study.
Other Abstract: การศึกษานี้เป็นการตรวจสอบพื้นฐานปัจจัยของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน จากการอ้างอิงข้อมูลสถิติในระหว่างปี ค.ศ. 1975 ถึง 1996 ในกลุ่มประเทศเอเชียน ; อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, และไทย. โดยการศึกษานี้ใช้สมการมหภาคตรวจสอบปัจจัยของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ. กลไกหลักของสมการนี้ชี้ให้เห็นอย่างเจาะจงถึงเงินลงทุนไหลเข้าของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ ซึ่งถูกกำหนดโดยปัจจัยเศรษฐศาสตร์มหภาคซึ่งมี 8 ปัจจัยของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ ซึ่งถูกนำมาศึกษาในสมการได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ, การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ, ระดับการเปิดการค้าระหว่างประเทศ, งบประมาณรัฐบาล, ค่าจ้างแรงงาน, อัตราแลกเปลี่ยน และความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ปัจจัยห้าตัวแรกจะมีผล กระทบกับการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ แต่ปัจจัยสองตัวหลังไม่สามารถถูกนำมาใช้ในการศึกษานี้ เพราะในกลุ่มประเทศอาเซียนได้ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่ในระหว่างปี ค.ศ. 1975 ถึง 1996. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ, การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ, ระดับการเปิดการค้าระหว่างประเทศ, งบประมาณรัฐบาล เป็นปัจจัยซึ่งมีผล กระทบกับการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศเป็นค่าบวก ขณะที่ค่าจ้างแรงงานมีผลกระทบกับการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศเป็นค่าลบ และมีเพียงการลงทุนในประเทศเท่านั้นที่ ไม่มีนัยสำคัญ. ในส่วนผลของการศึกษาเราพบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติมีนัยสำคัญในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, และฟิลิปปินส์ ขณะที่ค่าจ้างแรงงานมีนัยสำคัญในประเทศสิงคโปร์เท่านั้น และงบประมาณรัฐบาลมีนัย สำคัญในประเทศมาเลเซียเท่านั้น ระดับการเปิดการค้าระหว่างประเทศมีนัยสำคัญในประเทศอินโดนีเซีย, สิงคโปร์, และไทย และการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติมีนัยสำคัญในประเทศฟิลิปปินส์ และไทย ดังนั้น เรา สามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศในแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนมีความแตกต่างกัน ในการศึกษาเงินลงทุนที่ไหลสุทธิของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ เป็นเพียงเงินลงทุนที่ไหลเข้าของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศเท่านั้น ไม่รวมถึงจำนวนรวมของเงินลงทุนที่ไหลเข้าและออก ของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ ดังนั้นผลของการวิเคราะห์โดยประมาณ ได้แสดงให้เห็นเฉพาะปัจจัยของเงินลงทุนที่ไหลเข้าสุทธิของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศเท่านั้น สำหรับการศึกษาในอนาคต ผู้ศึกษาสามารถศึกษาปัจจัยของเงินลงทุนที่ไหลออกของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ หรือ จำนวนรวมของเงินลงทุนที่ไหลเข้าและออก ของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศได้ ซึ่งคำนิยามของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ ทั้ง 2 คำนี้ อาจจะให้ผลที่แตกต่างกันเมื่อมีการเปรียบเทียบกับการศึกษานี้
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1997
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Economics and Finance
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72996
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.319
ISBN: 9746375733
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1997.319
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aut_va_front.pdfCover and abstract291.35 kBAdobe PDFView/Open
Aut_va_ch1.pdfChapter 1114.31 kBAdobe PDFView/Open
Aut_va_ch2.pdfChapter 2232.52 kBAdobe PDFView/Open
Aut_va_ch3.pdfChapter 31.3 MBAdobe PDFView/Open
Aut_va_ch4.pdfChapter 4121.99 kBAdobe PDFView/Open
Aut_va_back.pdfReference and appendix305.95 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.