Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73452
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงนุช เหมืองสิน-
dc.contributor.advisorณรงค์ ประไพรักษ์สิทธิ์-
dc.contributor.authorปัณฑารีย์ ปิ่นประสงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-05-20T07:53:06Z-
dc.date.available2021-05-20T07:53:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73452-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractอนุภาคนาโนซีลีเนียมได้รับความสนใจมากขึ้นเนื่องจากมีความสามารถต้านมะเร็ง อย่างไรก็ตาม อนุภาคขนาดนาโนเมตรไม่เสถียร ดังนั้นงานวิจัยจึงเตรียมอนุภาคนาโนซีลีเนียมโดยใช้ไคโตซานที่ ดัดแปลงเป็นสารปรับเสถียร เพื่อช่วยเพิ่มเสถียรภาพของอนุภาค ไคโตซานดัดแปลงกับไลโครีนผ่านปฏิกิริยา tosylation ได้เป็น tosyl-lycorine-chitosan (Ts-Ly-chitosan) กาจัดหมู่ tosyl ของ Ts- Ly-chitosan โดย 5-amino-2-mercaptobenzimidazole (AMB) เข้าไปแทนที่ได้เป็น AMB-Lychitosan พิสูจน์เอกลักษณ์ไคโคซานที่ดัดแปลงทั้ง 2 แบบด้วยเทคนิคโปรตอนเอ็นเอ็มอาร์ (¹H-NMR), ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FT-IR) และเทอร์โมกราวิเมทริกอะนาไลซิส (TGA) ต่อมาไคโตซานที่ดัดแปลงทั้ง 2 แบบจะใช้เป็นสารปรับเสถียรสำหรับอนุภาคนาโนซีลีเนียม ซึ่งอนุภาคมี ลักษณะเป็นทรงกลมพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) นอกจากนี้ ทำการวัดขนาดและค่าศักย์ไฟฟ้าซีต้าด้วยเทคนิค dynamic light scattering (DLS) ซึ่งมีค่าประมาณ 80 nm และ +40 mV ตามลำดับ ประเมินความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของอนุภาคนาโนซีลีเนียมด้วยวิธี MTT assay ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าอนุภาคนาโนซีลีเนียมที่ทำให้เสถียรด้วย Ts-Ly-chitosan มี ฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งเยื่อบุช่องปาก (KB) ซึ่งมีค่า IC₅₀ เท่ากับ 3.907 µM ดีกว่าอนุภาคนาโน ซีลีเนียมที่ทาให้เสถียรด้วย AMB-Ly-chitosanen_US
dc.description.abstractalternativeSelenium nanoparticles attracted more attention due to anticancer activities; however, the nanoparticles are naturally unstable. Therefore, in this work, selenium nanoparticles were prepared using modified chitosan as stabilizer to enhance their stability. Chitosan was modified with lycorine via the tosylation reaction to obtain tosyl-lycorinechitosan (Ts-Ly-chitosan). Tosyl groups of Ts-Ly-chitosan were removed by substitution with 5-amino-2-mercaptobenzimidazole (AMB) to obtain AMB-Ly-chitosan. Both modified chitosans were characterized by ¹H-NMR spectroscopy, FT-IR spectroscopy and thermogravimetric analysis. Furthermore, both modified chitosans were used as stabilizer of selenium nanoparticles which were characterized by scanning electron microscope (SEM) and showed spherical shape. In addition, the size and zeta potential of selenium nanoparticles stabilized by Ts-Ly-chitosan were determined by dynamic light scattering (DLS) to be about 80 nm and +40 mV, respectively. The cytotoxicity of selenium nanoparticles were evaluated against cancer cells by MTT assay. The results showed that the cytotoxic against KB, oral cancer cells of selenium nanoparticles stabilized by Ts-Ly-chitosan (IC₅₀ = 3.907 µM) were higher than selenium nanoparticles stabilized by AMB-Ly-chitosan.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectซีลีเนียมen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectไคโตแซนen_US
dc.subjectระบบนำส่งยาen_US
dc.subjectเภสัชกรรมเทคโนโลยีen_US
dc.titleการสังเคราะห์อนุภาคนาโนซีลีเนียมที่เสถียรด้วยไคโตซานและไลโครีนเพื่อนำส่งยาen_US
dc.title.alternativeSynthesis of Selenium Nanoparticles Stabilized by Chitosan and Lycorine for Drug Deliveryen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorNongnuj.J@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNarong.Pr@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pantaree_Pi_Se_2558.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.