Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจริต เพียรชอบ-
dc.contributor.advisorประนอม โอทกานนท์-
dc.contributor.authorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-28T02:11:05Z-
dc.date.available2021-06-28T02:11:05Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745773743-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74177-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนในคลินิก เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ของนักศึกษาพยาบาล ผลการวิจัยได้รูปแบบการสอนซึ่งประกอบด้วยการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน หลักการ โครงสร้างเนื้อหา ยุทธศาสตร์การสอน การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน เครื่องมือในการนำรูปแบบไปใช้ประกอบ ด้วย คู่มือครู คู่มือนักศึกษา แบบประเมินทางการพยาบาล แบบฝึกหัดกรณีผู้ป่วย แบบฝึกหัดการแก้ปัญหาโดยการคิดแบบอเนกนัย เมื่อนำรูปแบบการสอนไปทดลองใช้กับนักศึกษาพยาบาลระดับวิชาชีพ ชั้นปีที 2 จากวิทยาลัยพยาบาล 2 แห่ง จำนวน 4 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ผลการทดลองปรากฎว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีความสามารกในการแก้ปัญหาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อาจารย์ในคลินิกและนักศึกษาพยาบาลประเมินว่าสามารถนารูปแบบการสอนนี้ไปใช้ได้เป็นอย่างดี และทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในการแก้ปัญหามากขึ้น ผู้วิจัยได้นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขจนได้รูปแบนการสอนที่สมบูรณ์-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop a clinical teaching model for improving student nurses's problem solving competencies. The result of the study derived the clinical teaching model, consisted of preliminary data, principle, content structure, teaching strategies, evaluation of the model. Teaching tools consisted of teacher's manual, student's manual, nursing assessment form, patient case study, situations for divergent problem solving practice. Testing of the model was done with 4 groups of sophomore professional nursing students form 2 nursing colleges, which devided into 2 experimental groups and 2 control groups. Analysis of covariance was used for analyzing the data. The result indicated that the experimental group had higher score than the control group at the .01 level of statistical significance. The clinical instructors and student nurses indicated that the model could be used at the high level and it also improved student nurses' confidence in problem solving. The comments were used to improve the model to get the complete one.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพยาบาล -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectNursing -- Study and teachingen_US
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสอนในคลินิกเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาลen_US
dc.title.alternativeDevelopment of clinical teaching model for improving student nurses problem solving competenciesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paungphen_ch_front_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_ch1_p.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_ch2_p.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_ch3_p.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_ch4_p.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_ch5_p.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Paungphen_ch_back_p.pdf10.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.