Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74214
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธา ขาวเธียร-
dc.contributor.advisorอัมพิรา เจริญแสง-
dc.contributor.authorหริณลักษมณ์ ชัยศรีสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-06-29T07:54:32Z-
dc.date.available2021-06-29T07:54:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74214-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในศูนย์บริการซ่อมรถสามารถก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมหากได้รับการจัดการอย่างไม่เหมาะสม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภท ปริมาณของเสีย และวิธีการจัดการของเสียอันตรายที่เกิดจากกิจกรรมภายในศูนย์บริการซ่อมรถ ใน พื้นที่กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน ประเมินผลกระทบของการจัดการของเสียดังกล่าวและเสนอ แนวทางในการจัดการของเสียที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยเครื่องมือทางสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย การท าแผนภาพทิศทางการไหลของของเสีย (Material flow analysis) ด้วยโปรแกรม STAN เวอร์ ชั่น 2.6.601 และการประเมินวัฎจักรชีวิตของการจัดการของเสีย (Life Cycle Assessment) ด้วย โปรแกรม SimaPro เวอร์ชั่น 8.3.0.0 และการวิเคราะห์ปริมาณของเสียอันตราย แนวทางการ จัดการของเสีย ความรู้ความเข้าใจในการจัดการของเสีย และการรายงานข้อมูลของเสียต่อ หน่วยงานที่กำกับดูแลของผู้ประกอบการโดยการทำแบบสอบถาม โดยกำหนดปริมาณของเสีย อันตรายทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน 1 ปี พิจารณาข้อมูลจากการรายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม แบ่ง ออกเป็น 2 กรณีศึกษา ได้แก่ กรณีรายงาน สก.2 และกรณีรายงานกำกับการขนส่งของเสีย และ กำหนดทางเลือกในการจัดการออกเป็น 3 รูปแบบ ประกอบด้วย 1. รูปแบบการจัดการของเสียใน ปัจจุบัน 2. การลดปริมาณของเสียที่ถูกนำไปฝังกลบ 3. การเพิ่มปริมาณของเสียที่ถูกนำไปรีไซเคิล โดยพิจารณาจากเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน จากการวิเคราะห์ทิศทางการไหลของของเสียพบว่า ของเสียอันตรายส่วนใหญ่ถูกจัดการโดยการรีไซเคิล ในส่วนของการวิเคราะห์ผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม พบว่าแนวทางเพิ่มการรีไซเคิลก่อให้เกิดศักยภาพในการก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดสำหรับทั้ง 2 กรณีศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeHazardous wastes generated from a garage and auto service can cause an adverse impact on the environment if they are managed improperly. The aim of this study was to access and evaluate types, quantity, and treatment methods of hazardous waste generated from the garages in Bangkok. Environmental impact of each method is evaluated by Material flow analysis (MFA) (STAN v.2.6.601) and Life Cycle Assessment (LCA) (SimaPro v.8.3.0.0). Questionnaires are used to analyzed the amount and management practice of waste generators. The functional unit was defined as the management of the total amount of collected garage hazardous waste in Thailand per year. The waste management schemes from SK.2 and type hazardous waste manifest. Option 1 was the base case, Option 2 was zero waste to landfill and Option 3 was enhance recycle. MFA shows that recycle was the main treatment for garage hazardous wastes. LCA shows that enhance recycle produce the smallest environmental impacten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1299-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อม-
dc.subjectของเสียอันตราย-
dc.subjectการจัดการของเสีย-
dc.subjectEnvironmental management-
dc.subjectHazardous wastes-
dc.subjectRefuse and refuse disposal-
dc.titleการจัดการของเสียอันตรายจากกิจกรรมภายในศูนย์บริการซ่อมรถ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยการใช้เครื่องมือทางด้านสิ่งแวดล้อมen_US
dc.title.alternativeHazardous waste management from garages in Bangkok by using environmental toolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSutha.K@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1299-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
En_5970350321_Harinluk Ch.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.