Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74545
Title: Rheological property and stability of coal-oil mixture fuel
Other Titles: สมบัติการไหลและเสถียรภาพของเชื้อเพลิงผสมถ่านหินกับน้ำมันเตา
Authors: Somnuk Geerathunyaskool
Advisors: Pattarapan Prasassarakich
Somchai Osuwan
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: ppattara@netserv.chula.ac.th, Pattarapan.P@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Fuel
Coal
เชื้อเพลิง
ถ่านหิน
น้ำมันเตา
Issue Date: 1989
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Coal-oil Mixture (COM) has been developed with the potential for substitution of fuel oil in the combustion equipment designed for fuel oil. The COM properties are strongly dependent on the characteristics of coal and the medium of suspensions. The rheological properties and stability of COM have been studied using subbituminous and bituminous coals in Thailand, light 1 fuel oil and heavy 6 fuel oil. Variables investigated are coal concentrations (10-50%), coal types, fuel oil types, temperature (40-80°C), particle size distribution (-75, 75-90 and 90-106 microns) and additive types. The COM is classified as a Newtonian fluid at low coal concentration and Bingham plastic model at high coal concentrations and had different yield stress for various types of coal and fuel oil. The COM viscosity is found to increase with coal concentration, increasing fuel oil viscosity, coal fineness: and decreasing temperature. In the study of COM stability using a sedimentation column, sedimentation ratio from the settling behavior of 25 wt% Ban Pu coal with 2 wt% Ethomeen C-20 in LFO and 30 wt% Ban Pu coal with 1 wt% Ethomeen C-20 in HFO are 0.61 and 0.49 respectively. This result led to interpretation of COM stability in terms of network stability rather than classical isolated colloidal particle stability. The screening shows that cationic additives are the most effective additives.
Other Abstract: เทคโนโลยีเชื้อเพลิงผสมถ่านหินกับน้ำมันเตา (COM) ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้ทดแทนน้ำมันเตาในอุปกรณ์การเผาไหม้ที่ใช้น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง สมบัติของเชื้อเพลิงผสมขึ้นอยู่กับลักษณะของถ่านหินและของเหลว งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาสมบัติการไหลและเสถียรภาพของเชื้อเพลิงผสมถ่านหินกับน้ำมันเตา โดยใช้ถ่านหินในประเทศประเภทซับบิทูมินัส และบิทูมินัส ส่วนน้ำมันเตาใช้น้ำมันเตาเบาเบอร์ 1 และน้ำมันเตาหนักเบอร์ 6 ตัวแปร ที่ทำการศึกษาคือ ความเข้มข้นของถ่านหิน (10-50%) ชนิดของถ่านหินและน้ำมันเตาอุณหภูมิ (40-80 ซ) ขนาดอนุภาคถ่านหิน (-75, 75-90 และ 90- 106 ไมครอน) และชนิดของตัวเดิม พฤติกรรมของเชื้อเพลิงผสมแบ่งเป็นสองลักษณะ โดยแสดงพฤติกรรมของไหลแบบนิวโตเนียนที่ความเข้มข้นของถ่านหินต่ำ ส่วนที่ความเข้มข้นของถ่านหินสูงมีพฤติกรรมแบบบิงแฮมพลาสติก ค่าความเค้นครากของเชื้อเพลิงผสมแตกต่างกันไปตามชนิดของถ่านหินและชนิดของน้ำมันเตา สำหรับความหนืดพบว่า มีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มข้นของถ่านหินเพิ่มขึ้นหรือใช้น้ำมันเตาที่มีความหนืดสูงขึ้น ตลอดจนการใช้ขนาดถ่านหินเล็กลงทำให้ความหนืดของเชื้อเพลิงผสมเพิ่มขึ้น การเพิ่มของอุณหภูมิทให้ความหนืดลดลงได้ ในการศึกษาเสถียรภาพของเชื้อเพลิงโดยเทคนิคการตกตะกอน เชื้อเพลิงผสมของ 25% ของถ่านหินบ้านปูและ 23% ตัวเดิมเอทโธมีน C-20 ผสมในน้ำมันเตาเบาเบอร์ 1 และใช้ 30% ถ่านหินบ้านปูและ 1% ตัวเติมเอทโธมีน C-20 ผสมในน้ำมันเตาหนักเบอร์ 6 มีค่าอัตราส่วนการนอนกัน 0.61 และ 0.49 ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงว่าเสถียรภาพของเชื้อเพลิงผสมอยู่ในรูปของโครงข่ายและมีการนอนกันแบบหลวม ๆ และตัวเติมแบบแคตอิออนทำให้ระบบมีเสถียรภาพกว่าตัวเติมชนิดอื่น
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1989
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74545
ISBN: 9745762601
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somnuk_ge_front_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_ch1_p.pdf643 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_ch2_p.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_ch3_p.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_ch4_p.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_ch5_p.pdf678.28 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_ge_back_p.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.