Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพล ธีรคุปต์-
dc.contributor.authorสุธาสินี เนติวิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-02T09:00:26Z-
dc.date.available2021-09-02T09:00:26Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75386-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562en_US
dc.description.abstractเนื่องจากมาตรา 40 (4) (ช) แห่งประมวลรัษฎากรกําหนดให้เงินได้พึงประเมินจากการ ขายหุ้นของบุคคลธรรมดา หมายถึง ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้นเฉพาะซึ่งตีราคาเป็นเงินได้ เกินกว่าที่ลงทุน ดังนั้น ในกรณีที่เป็นการขายหุ้นอันได้มาโดยไม่มีค่าตอบแทน ผู้ขายหุ้นจึงต้องนํา ผลประโยชน์ทั้งหมดที่ได้จากการขายหุ้นมาถือเป็นเงินได้พึงประเมินและเสียภาษีเงินได้เมื่อขายหุ้น อย่างไรก็ตาม ในขณะได้รับหุ้น ผู้ขายหุ้นถือว่ามีเงินได้พึงประเมินจากการได้รับหุ้นโดยไม่มี ค่าตอบแทนซึ่งจะต้องนํามาเสียภาษีด้วย จึงทําให้ผู้ขายหุ้นอาจต้องเสียภาษีซ้ําซ้อนจากเงินได้ พึงประเมินบนทรัพย์สินเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อได้รับหุ้นและเมื่อขายหุ้นออกไป จากการศึกษาพบว่า เพื่อให้เกิดเป็นธรรมต่อผู้เสียภาษีควรกําหนดให้ผู้ขายหุ้นสามารถนํา ฐานของเงินได้พึงประเมินจากการรับโอนหุ้นเฉพาะส่วนที่ได้เสียภาษีไว้แล้ว มาถือเป็นต้นทุนเพื่อ คํานวณเงินได้พึงประเมินจากการขายหุ้นตามมาตรา 40 (4) (ช) แห่งประมวลรัษฎากร และสามารถ นําเงินได้พึงประเมินที่ได้เสียภาษีจากการรับโอนไว้เฉพาะส่วนเกินจากราคาขายหุ้นหรือภาษีที่ได้เสีย ไปเกินกว่าภาษีที่ควรจะต้องชําระ มาหักออกจากเงินได้พึงประเมินหรือภาษีที่ต้องเสียเมื่อมีการขาย หุ้นได้นอกจากนี้ ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่าควรจะมีการกําหนดให้สามารถนําค่าใช้จ่ายใดๆที่ได้ จ่ายไปเพื่อให้ได้มาซึ่งหุ้นมาถือเป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุนเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี และควรมีการปรับแก้กฎหมายที่อาจเกี่ยวข้องเพื่อให้การปรับใช้กฎหมายเหมาะสมและเป็นธรรมมาก ขึ้น ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาความไม่ชัดเจนในการกําหนดเงินได้พึงประเมินจากการขายหุ้นอันได้มาโดย ไม่มีค่าตอบแทนได้เพื่อช่วยหลีกเลี่ยงการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่กรมสรรพากรอันจะส่งผลให้การ จัดเก็บภาษีของกรมสรรพากรมีความยุติธรรมเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอีกด้วยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.140-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหุ้นและการเล่นหุ้นen_US
dc.subjectผู้เสียภาษีen_US
dc.titleปัญหาการกำหนดเงินได้พึงประเมินของบุคคลธรรมดาจากการจำหน่ายทรัพย์สิน: ศึกษากรณีบุคคลธรรมดาขายหุ้นอันได้มาโดยไม่มีค่าตอบแทนen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.subject.keywordการเสียภาษีen_US
dc.subject.keywordขายหุ้นen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.140-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6186179734.pdf748.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.