Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร พานิช-
dc.contributor.authorศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-16T08:00:17Z-
dc.date.available2008-07-16T08:00:17Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746363867-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractศึกษาสำรวจรูปแบบ และเนื้อหาวัฒนธรรมไทยที่ถูกถ่ายทอดผ่านสื่อนวนิยาย และสื่อละครโทรทัศน์เรื่อง สี่แผ่นดิน และเพื่อศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการเชื่อมโยงรูปแบบ และเนื้อหาวัฒนธรรมไทยในสื่อละครโทรทัศน์ ด้วยการเปรียบเทียบกับสื่อนวนิยาย โดยอาศัยแนวคิดเรื่องการผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดวัฒนธรรม แนวคิดเรื่องสื่อส่องทางให้แก่กัน แนวคิดเรื่องการเชื่อมโยงเนื้อหาและแนวคิด เรื่องการดัดแปลงสื่อนวนิยายมาเป็นสื่อละครโทรทัศน์ เพื่อการแสดงมาช่วยในการวิเคราะห์ต่าง ๆในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ทำการศึกษาทั้งจากแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคลโดยการสัมภาษณ์ข้อมูลต่าง ๆ แหล่งข้อมูลที่เป็นเอกสารที่ใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูล อ้างอิงหลักฐานเกี่ยวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ และเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นเทปบันทึกภาพละคร สี่แผ่นดิน จำนวน 85 ตอน ใช้ในการเปรียบเทียบเนื้อหา และรูปแบบวัฒนธรรมระหว่างสื่อนวนิยาย และละครโทรทัศน์ตามเกณฑ์การวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้เป็นกรอบในการศึกษา พบว่าในสื่อนวนิยายที่นำมาผลิตเป็นสื่อละครโทรทัศน์ สามารถคงรูปแบบและเนื้อหาวัฒนธรรมทั้งแปดหมวดหลักตามที่กำหนดไว้ แต่วัฒนธรรมย่อยที่ปรากฏในแต่ละหมวดหลัก มีความแตกต่างกันในบางวัฒนธรรมย่อยในลักษณะการคงเดิม การเพิ่มขึ้น การลดลง อันเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ทางด้านการผลิต เช่น งบประมาณในการผลิตสูง สถานที่ที่จะใช้ถ่ายทำเป็นเขตหวงห้ามทางราชการ การขาดแคลนวัตถุดิบส่วนต่างๆ ในการผลิต เช่น อุปกรณ์ประกอบฉาก เครื่องแต่งกาย ฯลฯ รวมถึงธรรมชาติของสื่อที่เป็นตัวกำหนดสำคัญ ที่ทำให้เกิดความแตกต่างกันของการถ่ายทอดวัฒนธรรมในสื่อนวนิยาย และสื่อละครโทรทัศน์en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study what form and content of Thai Culture which was transmitted and how differences of culture transmission through the novel and television drama "Si-Pandin" with an analyzed and comparative study. The concept and theoretical framework of the reproduction for culture transmission, the mutual illumination of the media, intertextuality and the adaption methodology from the novel to be the television drama were used for analyzing text and forms of Thai culture. In addition, this research also included the study of an interviewing of personel source and search from documentary source and seeing video tape "Si-Pandin" which was broadcasted on television for 85 chapters. The research found that the novel and television drama was able to maintain all 8 main cultures, however, some sub-cultures in each main culture have been adapted in both of an increased and decreased content because of production factors (props/costumes) including the nature of media. All production factors have an influence to the difference of culture transmission in the novel and television drama "Si-Pandin".en
dc.format.extent1001210 bytes-
dc.format.extent1146354 bytes-
dc.format.extent1756353 bytes-
dc.format.extent989659 bytes-
dc.format.extent9731305 bytes-
dc.format.extent2344299 bytes-
dc.format.extent1379647 bytes-
dc.format.extent1192140 bytes-
dc.format.extent1057500 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสี่แผ่นดิน -- ประวัติและวิจารณ์en
dc.subjectสื่อมวลชนกับวัฒนธรรมen
dc.subjectนวนิยายไทยen
dc.subjectละครโทรทัศน์ -- ไทยen
dc.subjectวัฒนธรรมไทยen
dc.titleการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย ผ่านสื่อนวนิยายและสื่อละครโทรทัศน์เรื่อง "สี่แผ่นดิน"en
dc.title.alternativeA comparative study of cultural transmission through the novel and television drama "Si-Pandin"en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUayporn.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasivimol_Sa_front.pdf977.74 kBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch1.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch2.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch3.pdf966.46 kBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch4.pdf9.5 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch5.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch6.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_ch7.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Sasivimol_Sa_back.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.