Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76821
Title: Separation of arsenic species by ion exchange resin and mixed metal oxides for determination by ICP-OES
Other Titles: การแยกอาร์เซนิกสปีชีส์ด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนและโลหะออกไซด์ผสมสำหรับการตรวจวัดด้วย ICP-OES
Authors: Thanaphat Thongkhao
Advisors: Apichat Imyim
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A novel method for speciation of arsenic (As(III), As(V) and dimethyl arsenic acid (DMA)) in water using solid phase materials including strong base anion exchange (SBAE) resin and iron-copper binary oxide coupled with inductively coupled plasma optical emission spectrometry (ICP-OES) was developed. This study aims to separate and quantitatively determine water-soluble arsenic (As(III) As(V) and dimethyl arsenic acid (DMA)) towards two steps of solid phase extraction at the same pH. In this work, nanostructured iron-copper binary oxide was prepared by using coprecipitation method. The effect of pH of solution and concentration of eluent on adsorption behavior of As(III), As(V) and DMA were investigated. Results concluded that SBAE resin can adsorb As(V) at pH 11 while As(III) and DMA could not be retained. For iron-copper binary oxide material, DMA could not be retained while As(III) and As(V) could be adsorbed at pH 11. The determination of each arsenic species was achieved by ICP-OES. The maximum adsorption capacities of As(V) on SBAE resin and As(III) on iron-copper binary oxide were 10.6 mg g-1 and 36.8 mg g-1, respectively.
Other Abstract: พัฒนาวิธีการแยกอาร์เซนิกสปีชีส์ ได้แก่ อาร์เซไนต์ [As(III)] อาร์เซเนต [As(V)] และไดเมทิลอาร์เซนิกแอซิด (DMA) ในตัวอย่างน้ำโดยใช้การดูดซับด้วยตัวดูดซับสองชนิด คือ แอนไอออนเอกซ์เชนจ์เรซิน (SBAE) และตัวดูดซับโลหะออกไซด์ผสมของเหล็กและทองแดง จากนั้นตรวจวัดปริมาณอาร์เซนิกด้วยเทคนิคอินดักทิฟลีคัพเปิลพลาสมาออฟติคัลอิมิสชันสเปกโทรเมตรี เริ่มจากการสังเคราะห์ตัวดูดซับโลหะออกไซด์ผสมของเหล็กและทองแดงด้วยกระบวนการตกตะกอนร่วม จากนั้นแยกอาร์เซไนต์ อาร์เซเนต และไดเมทิลอาร์เซนิกแอซิด โดยผ่านกระบวนการสกัดด้วยเฟสของแข็ง 2 ขั้นตอน ที่ pH เดียวกัน โดยทำการศึกษาภาวะที่เหมาะสมสำหรับการสกัดแบบแบทช์ ได้แก่ ค่าพีเอชของสารละลาย ความเข้มข้นของตัวชะ และค่าความจุการดูดซับ พบว่าแอนไอออนเอกซ์เชนจ์เรซินสามารถดูดซับอาร์เซเนตที่พีเอชเท่ากับ 11 ในขณะที่อาร์เซไนต์และไดเมทิลอาร์เซนิกแอซิดถูกดูดซับได้น้อย ส่วนตัวดูดซับโลหะออกไซด์ผสมของเหล็กและทองแดงที่พีเอชเท่ากับ 11 สามารถดูดซับได้ทั้งอาร์เซไนต์และอาร์เซเนต โดยที่ไม่ดูดซับไดเมทิลอาร์เซนิกแอซิด แล้วตรวจวัดปริมาณของอาร์เซนิกทุกสปีชีส์ด้วยเทคนิค ICP-OES โดยค่าความจุการดูดซับสูงสุดที่พีเอชเท่ากับ 11 ของแอนไอออนเอกซ์เชนจ์เรซินสำหรับการดูดซับอาร์เซเนตมีค่าเท่ากับ 10.6 มิลลิกรัมต่อกรัม และส่วนตัวดูดซับโลหะออกไซด์ผสมของเหล็กและทองแดงสำหรับการดูดซับอาร์เซไนต์มีค่าเท่ากับ 36.8 มิลลิกรัมต่อกรัม
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76821
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1456
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1456
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5772005023.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.