Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77306
Title: การผลิตและคุณภาพของรอยัลเยลลีจากผึ้งโพรง (Apis cerana)
Other Titles: Production and quality of Royal jelly from Apis cerana
Authors: บุญมี กวินเสกสรรค์
Advisors: สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ
รมณี สงวนดีกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Siriwat.W@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: ผึ้งโพรง
เยลลี
Apis cerana
Jelly
Issue Date: 2537
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาปัจจัยและวิธีผลิตรอยัลเยลสีจากผึ้งโพรงไทย (A. cerana Indlca) พบว่า การใช้ถ้วยเพาะ ไขผึ้ง 12 ขนาดคือ 7x9, 7x10, 7x11, 8x9, 8x10, 8x11, 9x9, 9x10, 9x11, 10x9, 10x10 และ 10x11 ตารางมิลลิเมตร ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมจากการทำอย่างละ 24 ถ้วยเท่ากับ 1.4, 1.4, 1.7, 1.7, 1.8, 1.6, 1.8, 2.0, 1.2, 1.7, 1.1 และ 0.4 กรัม ตามลำดับ การใช้ถ้วยเพาะขนาด 9x10 ตารางมิลลิเมตร จำนวน 40, 60 และ 80 ถ้วย/รัง ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมเท่ากับ 4.6, 5.4 และ 6.6 ก./รัง ตามลำดับ การใช้คอนเพาะ 1 คอน/รัง ที่ติดถ้วยเพาะ 80 ถ้วย และคอนเพาะ 2 คอน/รัง ที่ติดถ้วยเพาะ 40 ถ้วย/คอน ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมเท่ากับ 6.9 และ 6.5 ก./รัง ตามลำดับ การใช้ตัวหนอนผึ้งงานอายุ น้อยกว่า 1 วัน ที่ระยะเวลาผลิต 2, 3 และ 4 วัน ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมจากการทำอย่างละ 60 ถ้วยเท่า กับ 2.1, 3.9 และ 5.3 ก. ตามลำดับ การใช้ตัวหนอนผึ้งงานอายุ 1-2 วัน ที่ระยะเวลาผลิต 2, 3 และ 4 วัน ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมจากการทำอย่างละ 60 ถ้วย เท่ากับ 3.3, 5.8 และ 2.0 ก. ตามลำดับ การ ใช้ตัวหนอนผึ้งงานอายุ 2-3 วัน ที่ระยะเวลาผลิต 2, 3 และ 4 วัน ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมจากการทำอย่างละ 60 ถ้วยเท่ากับ 3.7, 4.6 และ 3.7 ก. ตามลำดับ การใช้รอยัลเยลสีจากผึ้งโพรงไทยและรอยัลเยล สีจากผึ้งพันธุ์รองก้นถ้วยเพาะ ปริมาณชนิดละ 15, 25 และ 45 มก./ถ้วย ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมจากการ ทำอย่างละ 30 ถ้วยเท่ากับ 2.8, 2.9, 2.5, 2.3, 2.2 และ 2.1 ก. ตามลำดับการใช้รังผึ้งคัดแปลงและรังผึ้งปกติ ได้ปริมาณรอยัลเยลสีรวมเท่ากับ 7.4 และ 5.9 ก./รัง ตามลำดับ การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของรอยัลเยลสีจากผึ้งโพรงไทย ที่ผลิต ณ หน่วยวิจัยชีววิทยาของผึ้ง ต.บางขันแตก อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม ระหว่างวันที่ 8-16 สิงหาคม 2536 พบว่ามีปริมาณความชื้น, โปรตีน, คาร์โบโฮเดรท, 10-HAD, ความเป็นกรด, เถ้า และไขมันเท่ากับ 52.1, 19.5, 23.0, 1.49, 56.2 (มล. ของ 1 N.NaOH /100 ก.รอยัลเยลสีสด), 1.5 และ 3.9 % ตามลำดับ และจากการศึกษาคุณภาพของรอยัลเยลสีจากผึ้งโพรงไทยแช่แข็ง ที่อุณหภูมิ -5 ซ นาน 4 เดือน พบว่าปริมาณ ความชื้น, 10-HAD, เถ้า และไขมัน ไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ปริมาณโปรตีนลดลงหลังจากเดือนที่ 1 ของการเก็บรักษาอบ่างมีนัยสำคัญ (p<0.05)
Other Abstract: Queen rearing techniques have been modified to produce royal jelly from Adis cerana Indica colonies. The results show that when using 24 cups each for twelve sizes of wax queen cups, 7x9, 7x10, 7x11, 8x9, 8x10, 8x11, 9x9, 9x10, 9x11, 10x9, 10x10 and 10x11 mm² the total royal jelly product was 1.4, 1.4, 1.7, 1.7, 1.8, 1.6, 1.8, 2.0, 1.2, 1.7, 1.1 and 0.4 g, respectively. When the numbers of 9x10 mm² queen cups In the colony were 40, 60 and 80 cups/colony, the product was 4.6, 5.4 and 6.6 g/colony, respectively. When the numbers of royal jelly Collecting frames in the colony were one frame with 80 cups and two frames with 40 cups/frame, the product was 6.9 and 6.5 g/colony, respectively. The royal jelly product from 60 cups when the grafting Larval age was <1 day and collecting times were 2, 3 and 4 days was 2.1, 3.9 and 5.3 g, respectively. When the grafting larval age was 1-2 day and collecting times were 2, 3 and 4 days, it was 3.3, 5.8 and 2.0 g, respectively. When the grafting larval age was 2-3 day and collecting times were 2, 3 and 4 days, it was 3.7, 4.6 and 3.7 g, respectively. The royal jelly product from 30 cups When A. cerana indica royal jelly priming in the cups was 15, 25 and 45 mg/cup was 2.8, 2.9 and 2.5 g, respectively. A. mellifera royal jelly priming in the cups was 15, 25 and 45 mg/cup, it was 2.3, 2.2 and 2.1 g, respectively. Finally, the royal jelly product when using modified and normal colonies was 7.4 and 5.9 g/colony, respectively. The chemical components of fresh royal jelly from A. cerana indica in Tumbol Bangkhuntak, Amphur Mueng, Smutsongkram Province, during 8-16 August 1993 were moisture (52.1%), protein (19.5 %), carbohydrates (23.0 %), 10-HAD (1.49 %), ash (1.5 %) and fat (3.9 %), The quantities of frozen Royal jelly components, namely moisture, 10-HAD, ash and fat, were not significantly different (p<0.05) after storage at -5 ℃ for 3 months, while the amount of protein decreased after storage for 2 months but acidity increased after storage for a month (significant with p<0.05).
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เทคโนโลยีชีวภาพ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77306
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1994.620
ISBN: 9745845116
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1994.620
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonmee_ka_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ980.26 kBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1703.07 kBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.68 MBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch3_p.pdfบทที่ 31.25 MBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch4_p.pdfบทที่ 41.59 MBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch5_p.pdfบทที่ 51.06 MBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_ch6_p.pdfบทที่ 6693.37 kBAdobe PDFView/Open
Boonmee_ka_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.