Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77864
Title: UV solvent effect studies of some metal acetylacetonates
Other Titles: การศึกษาอิทธิพลของตัวทำลายต่าง ๆ ที่มีต่ออุตราไวโอเลทสเปคตราของโลหะอะเซททีลอะซีโทเนทบางตัว
Authors: Surin Monchan
Advisors: Chau, J.Y.N.
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: สารตัวทำละลาย
สารประกอบเชิงซ้อน
Solvents
Complex compounds
Issue Date: 1976
Publisher: Chulalongkorn University.
Abstract: Solvent effects studies of the ultraviolet absorption spectra of M(II), M(III) acetylacetonates where M - Ni(II) Mn(II), CO(II), Zn(II), Cu(II), Pd(II), Mn (III), Fe(III), Cr(III) ,and CO(III) are reported in a variety of solvents. Evidence is presented for species containing adducts of the type M(ACÀC)2.25, where ACAC is acetylacetone , S is an alcohol or water solvent molecule , and M is Ni(II) , Hn(II), CO(II) and Zn(II). Alsc monomers/polymers species are discussed. The ultraviolet spectra examination of hydrogen bonding to above metal acetylacetonates complexes has been carried out using chloroform and dichloromethane as the hydrogen-bonding agents. The data obtained indicate that Mn(III), Fe(III) Ni(II) and Hn(II) form hydrogen bonding and no hydrogen bonding occur with Co(II) , En.(II) , Cu(II) Pd(II), Cr(III) and Co(III) . It is believed that hydrogen bonding is via the chelate rings rather than the oxygen atoms. Evidence that the tetrahedral Co(II), and Zn(II) complexes change into planar form in chloroform and dichloro-dethane solution is presented. A study of solvent shifts of M(II) and M(III) acetylacetonate is reported. Larger shifts are generally recorded in polar and coordinating solvents These shifts are generally Smaller than the ones reported in the organic compound. This is undoubtedly due to the ligand field and the central field of the metal playing their part.
Other Abstract: การศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของตัวทำละลายต่าง ๆ ที่มีต่อ อุลตราไวโอเลท แอบสอร์ฟชัน สเปกตรา ของสารประกอบเชิงซ้อนของอะเฮททีลอะซีโทเนทของโลหะบางตัว คือ สารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มีวาเลนชีเท่ากับสอง มีโลหะ นี้เกิล แมงกานีส โคบอลท์ สังกะสี ทองแดง ศาลลาเดียม และสารประกอบเชิงซ้อนของ โลหะที่มีวาเลนซี เท่ากับสาม มีโลหะ แมงกานีส เหล็ก โครเมียม และโคบอลท์ จากการศึกษาเรื่องนี้ พบว่า สารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มีวาเลนซีเท่ากับสอง เมื่อละลายในตัวท่าละลายที่เป็น แอลกอฮอล์หรือน้ำ โมเลกุลของ แอลกอฮอล์ หรือน้ำ จะเข้าไปจับกับตัวโลหะ ทำให้เกิดสารที่เป็นแบบ M(AcAc)2.25 โดยที่ M(AcAc)2 คือสารประกอบเชิงซ้อนอะเฮททีลอะซีโทเนท ของโลหะที่มี วาเลนซีเท่ากับสอง ซึ่งมีโลหะ นี้เกิล แมงกานีส โคบอลท์ และสังกะสี ส่วน 5 คือ โมเลกุลของแอลกอฮอล์ หรือน้ำ และยังได้ศึกษา ส่วนที่เป็น monomer/polymer ในตัวทำละลายต่าง ๆ อีกด้วย การศึกษาจากอุลตราไวโอเลท สเปคตรา เพื่อดูการเกิดพันธไฮโดรเจน ( Hydrogen-bonding) ระหว่าง สารประกอบเชิงซ้อนอะเซททีสอะฮีโทเนทของ โลหะที่กล่าวข้างต้น กับ ตัวทำละลาย คลอโรฟอร์ม และไดคลอโรมีเทน ผลที่ได้ ปรากฏว่า สารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มีวาเลนซีสาม ของโลหะแมงกานีส เหล็ก และ สารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มีวาเลนซีสอง ของโลหะ นิเกิล และแมงกานิสได้เกิดพันธไฮโดรเจน ขึ้น ส่วนสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มีวาเลนซีสองของโคบอลท์ สังกะสี ทองแดง พาลลาเดียม และสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะที่มี วาเลนซีสามของโครเมียมและโคบอลท์ ไม่เกิดพันธไฮโดรเจน ซึ่งเชื่อกันว่า การเกิดพันธไฮโดรเจนนี้ เกิดจาก พันธระหว่างไฮโดรเจนอะตอมของตัวทำละลายกับวงแหวน ( chelate) ของสารประกอบเชิงสอบซ้อนของอะเซททีลอะซีโทเนท มากกว่า ที่จะเกิดกับ อ๊อกซิเจนอะตอม ของสารประกอบเชิงซ้อนอะเฮททีลอะซีโทเนท และพบว่าสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะ สังกะสี และโคบอลท์ ซึ่งมีโครงสร้างเป็นแบบเททราฮึดรา ได้เปลี่ยนโครงสร้างเป็นแบบพลาน่า เมื่อละลายในตัว ทำละลาย คลอโรฟอร์ม และในไดคลอโรมีเทน นอกจากนี้ ยังพบว่า สารประกอบเชิงซ้อนอะเซททีลอะซีโทเนทของโลหะ ดังกล่าวมาแล้วนี้ เมื่อละลายในตัวทำละลายต่าง ๆ กันจะทำให้ตำแหน่งของ อุลตราไวโอเลท สเปกตราเปลี่ยนแปลงไปด้วย และมักจะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงมาก เมื่อละลายอยู่ในตัวทำละลายที่เป็นพวก Polar และ Coordinating แต่การ เปลี่ยนแปลงนี้ยังน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับกรณีที่เป็นสารพวกอินทรียเคมี ที่เป็น เช่นนี้ก็เพราะว่า เนื่องจากผลของ ligand field และ central field ของโลหะ
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77864
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1976.8
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1976.8
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surin_mo_front_p.pdfCover and abstract867.69 kBAdobe PDFView/Open
Surin_mo_ch1_p.pdfChapter 1811.59 kBAdobe PDFView/Open
Surin_mo_ch2_p.pdfChapter 2768.72 kBAdobe PDFView/Open
Surin_mo_ch3_p.pdfChapter 32.58 MBAdobe PDFView/Open
Surin_mo_back_p.pdfReference and appendix695.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.