Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77968
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์ขาปล้องในระบบนิเวศการเกษตรและพื้นที่รอบข้างในพื้นที่ อพ.สธ. : รายงานผลการดำเนินงาน
Authors: ชัชวาล ใจซื่อกุล
มารุต เฟื่องอาวรณ์
Email: Chatchaw.C@Chula.ac.th
Marut.F@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: สัตว์ขาปล้อง
แมลง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Issue Date: 2557
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาความหลากหลายของแมลงและสัตว์ขาปล้องที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและพื้นที่รอบข้าง ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้ดำเนินการโดยการสำรวจชนิดและปริมาณของแมลงศัตรูพืชและแมลงที่เป็นประโยชน์ในพื้นที่แก่งคอย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตำบลชำผักแพว อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ระหว่าง ธันวาคม 2556 ถึง กันยายน 2557 โดยใช้กับดักแสงไฟ สวิงจับแมลง สวิงสำหรับแมลงน้ำ และการแยกสัตว์ขาปล้องในดินโดยใช้ Berlese’s funnel จากการสำรวจพบแมลงศัตรูพืชกลุ่มผีเสื้อที่สำคัญคือ หนอนผีเสื้อมะนาวและหนอนผีเสื้อเหยี่ยวต่างๆ ที่เป็นแมลงศัตรูการเกษตร และหนอนในวงศ์ Cossidae ที่เป็นแมลงศัตรูป่าไม้ แมลงน้ำกลุ่มที่พบมากคือมวนน้ำในอันดับ Hemiptera และหลายชนิดเป็นแมลงผู้ล่าที่สำคัญของลูกน้ำยุง สัตว์ขาปล้องในดินกลุ่มที่พบมากที่สุดคือแมลงหางดีดตามมาด้วยไรดิน ถึงแม้พื้นที่ศึกษาจะมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น การก่อสร้างอาคาร การขุดบ่อน้ำ การเกษตร และการปลูกป่า แต่ความหลากหลายของสัตว์ขาปล้องต่างๆที่ใช้เป็นตัวชี้วัดแสดงถึงสภาวะที่อุดมสมบูรณ์พอสมควรเนื่องจากพบบทบาทเชิงนิเวศต่างๆที่หลากหลายโดยเฉพาะผู้ล่า จึงควรได้มีการศึกษาต่อไปโดยเฉพาะเมื่อมีการปรับพื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่เกษตรมากขึ้น
Other Abstract: Diversity of insects and related arthropods in relation to agricultural area and adjacent area in the area of Royal Plant Diversity Program under the patronage of Princess Mahachakri Sirindhorn has been conducted using light traps, aerial net, aquatic net, and soil extraction using Berlese’s funnel at Kangkhoi area Chulalongkorn University, Tambon Champhakphaew, Amphor Kangkhoi, Saraburi Province from December 2013 to September 2014. The result showed that lime butterflies and hawk moths were the most important lepidopteran pests for agriculture while cossid moths were most important leidopteran pests for forest plantation in the area. Several aquatic insect predators, particularly in order Hemiptera, were abundant and may play important role in control of mosquito larvae. The most abundant groups of soil arthropods were springtails and soil mites, respectively. Although the area has been undergone changes, such as building construction, pond construction, agriculture, and reforestation, the diversity of arthropods used for bio-indicator reflected the richness of biodiversity of the area through diversed ecological guild, particularly predators. The monitoring should be further conducted in the area due to increasing agricultural area.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77968
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatchaw C_Res_2557.pdfรายงานวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.