Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7806
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.advisorนิกร ดุสิตสิน-
dc.contributor.authorนรมนต์ มหาศิริมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-08-18T07:17:58Z-
dc.date.available2008-08-18T07:17:58Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741433174-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7806-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการสื่อสารเรื่องเพศของวัยรุ่นตอนต้นกับพ่อแม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2548 จำนวน 264 คน เป็นเพศชาย 138 คน เพศหญิง 126 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงปัจจัยที่ศึกษา ได้แก่ เพศของวัยรุ่น เพศของผู้ปกครอง การมีพี่น้องเพศเดียวกัน รูปแบบครอบครัว รูปแบบการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และความใกล้ชิด แบบสอบถามที่ใช้ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่งเป็นข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่สองเป็นแบบวัดการสื่อสารเรื่องเพศของวัยรุ่นกับผู้ปกครอง ส่วนที่สามเป็นแบบวัดการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และความใกล้ชิด ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการสื่อสารเรื่องเพศของวัยรุ่นตอนต้นกับพ่อแม่ คือ การเฝ้าสังเกตของผู้ปกครอง เพศของวัยรุ่น เพศของผู้ปกครอง และการเลี้ยงดูในแบบเอาใจใส่โดยปัจจัยดังกล่าวสัมพันธ์ต่อการสื่อสารเรื่องเพศของวัยรุ่นตอนต้นกับพ่อแม่ถึงร้อยละ 21.50 ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมดen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study factors related to early adolescence communication about sex with parents. The subjects were 264 middle school students, 138 male students and 126 female students in academic year 2005. The subjects were selected by purposive sampling technique. Factors were sex of adolescence, sex of parent, same sex sibling, living with father/mother/others, parenting styles, parent monitoring, and closeness between adolescence and parent. The questionnaire was used in this study. It was divided into three parts. The first part was personal information. The second part was contained assessment of communication about sex. The last part was contained assessment of parenting style, parent monitoring and closeness. Mean, S.D., percentage and multiple regression were used to analyze the data. The results revealed that factors significantly related to early adolescence communication about sex with parents were parent monitoring, adolescence sex, parent sex and authoritative parenting style. Those factors were 21.50 accountable for early adolescence communication about sex with parents.en
dc.format.extent2061335 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเพศศึกษาสำหรับวัยรุ่นen
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการสื่อสารเรื่องเพศของวัยรุ่นตอนต้นกับพ่อแม่en
dc.title.alternativeRelated to Early Adolescence Communication About Sex with parentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเพศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsompoch.i@chula.ac.th, isompoch@hotmail.com-
dc.email.advisorNikorn.D@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
noramon.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.