Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมาลินี ฉัตรมงคลกุล-
dc.contributor.authorกนกวรรณ อรุณฤกษ์ดีวงศ์-
dc.contributor.authorฉัฐกรณ์ รังษี-
dc.contributor.authorชนม์นิภา ว่องวีรวัฒนกุล-
dc.contributor.authorชวณัฐ สัตยเสวนา-
dc.contributor.authorวรัตถ์ ศิวายพราหมณ์-
dc.contributor.authorวริษฐา ลิ้มยังเจริญ-
dc.contributor.authorศิริศักดิ์ วงศ์ภักดี-
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ มูลนางเดียว-
dc.contributor.authorอัญญาพร สุคนพันธ์-
dc.contributor.authorชิดชัย จันทร์ตั้งสี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-03T09:14:34Z-
dc.date.available2022-03-03T09:14:34Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78166-
dc.description.abstractจากการสำรวจระยะเซอร์คาเรียของพยาธิใบไม้ในหอยน้ำจืด 5 ชนิด ที่เก็บจากแหล่งน้ำจืด 3 แห่ง ในพื้นที่เขาวังเขมร จังหวัดกาญจนบุรี จำนวนทั้งหมด 247 ตัวอย่าง ด้วยวิธีการทุบหอยและตรวจดูตัวอย่างสด พบเซอร์คาเรียที่มีลักษณะแตกต่างกันจำนวน 2 สัณฐาน ได้แก่ เซอร์คาเรียหาง 2 แฉก และ เซอร์คาเรียหาง 1 แฉก จากหอยเจดีย์ทั้งหมด 9 ตัวอย่าง คิดเป็นเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อรวม 3.64% เมื่อนำเซอร์คาเรียที่แยกได้จากหอยที่ติดเชื้อทั้ง 9 ตัว มาสกัดดีเอ็นเอ แล้วเพิ่มจำนวนรวมทั้งหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนไรโบโซมอลดีเอ็นเอขนาดประมาณ 2,900–3,300 คู่เบส และนำลำดับนิวคลีโอไทด์ที่ได้ไปวิเคราะห์ด้วยการ BLAST และการเรียงเปรียบเทียบลำดับ พบว่า เซอร์คาเรียที่ตรวจพบสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ (1) เซอร์คาเรีย 5 ตัว มีความใกล้เคียงกับหนอนตัวแบนในวงศ์ Transversotrematidae; (2) เซอร์คาเรีย 1 ตัว น่าจะอยู่ในวงศ์ Lecithodendriidae; และ (3) เซอร์คาเรีย 3 ตัว เป็นสมาชิกของพยาธิใบไม้ในสกุล Centrocestusen_US
dc.description.abstractalternativeA total of 247 samples from five species of freshwater snails collected from three sampling sites at Khao Wang Khamen, Kanchanaburi Province were examined for the presence of trematode cercariae. Using crushing method and lived microscopic observation, nine thiarid snails were found to carry two morphotypes of cercariae: furcocercous and one-tailed cercariae, giving the overall cercaria infection rate of 3.64%. Genomic DNA was extracted from cercariae individually isolated from the nine infected mollusks. Amplification and nucleotide sequencing of ribosomal DNA, giving the amplicons of about 2,900–3,300 bp, were conducted. Using BLAST search tool and sequence alignment analysis, the examined cercariae were divided into three groups: (1) five cercariae relating to transversotrematid flatworm; (2) one belonging to lecithodendriid fluke; and (3) three assigning to Centrocestus trematode.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2557en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปรสิตen_US
dc.subjectเซอร์คาเรียen_US
dc.subjectพยาธิใบไม้en_US
dc.titleสัณฐานวิทยาและข้อมูลชีวโมเลกุลของปรสิตบางชนิด : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeMorphology and molecular data of some parasitesen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Malinee C_Res_2557.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.