Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรินทร ชวศิริ-
dc.contributor.authorพิชญานิน สุขรัง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-17T09:21:52Z-
dc.date.available2022-03-17T09:21:52Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78318-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractน้ำมันมะพร้าวมีประโยชน์รอบด้าน และสามารถใช้ประโยชน์ทั้งด้านสุขภาพและความงาม มี กรดไขมันที่สำคัญคือ กรดลอริก ซึ่งแสดงฤทธิ์ต้านจุลชีพได้กว้างขวางกับไวรัสที่มีเปลือกไขมันหุ้ม และ แบคทีเรียชนิดต่างๆ ในงานวิจัยนี้ศึกษาการแยกกรดลอริกจากน้ำมันมะพร้าว และใช้เป็นสารตั้งต้นในการ เตรียมอนุพันธ์เอสเทอร์โดยใช้ไทรคลอโรแอเซทามีด (Cl₃CCONH₂) และไทรฟีนิลฟอสฟีน (PPh₃) ผ่าน ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ได้ศึกษาภาวะที่เหมาะสมของการสังเคราะห์มอนอลอริน โดยศึกษาอัตราส่วนที่ เหมาะสมของ Cl₃CCONH₂ : PPh₃ ที่ต่างกันสามค่า พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสม คือ 1:1 วิธีการที่ได้พัฒนาขึ้น นี้ได้ประยุกต์ในการสังเคราะห์อนุพันธ์ของกรดลอริกอีกสามชนิด ได้แก่ ลอริลลอเรต ไครซินลอเรต และไอโซเอ มิลลอเรต ได้ยืนยันเอกลักษณ์สารที่สังเคราะห์ได้ทั้งหมดด้วยเทคนิค NMRen_US
dc.description.abstractalternativeCoconut oil is versatile and can be utilized for both health and beauty aspects. Its important containing fatty acid is lauric acid which reveals a broad antimicrobial activity against enveloped viruses and various bacteria. This work involves the separation of lauric acid from coconut oil and uses as a starting material to prepare ester derivatives using trichloroacetamide (Cl₃CCONH₂) and triphenylphosphine (PPh₃) through esterification reaction. The optimum conditions for the synthesis of monolaurin were investigated using three different ratios of Cl₃CCONH₂ : PPh₃ and found that the optimum ratio was 1:1. This method was successfully applied to synthesize three additional derivatives: chrysin laurate, lauryl laurate and isoamyl laurate. All synthesized compounds were confirmed their identity by NMR. Keywords: coconuten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันมะพร้าวen_US
dc.subjectกรดลอริกen_US
dc.subjectCoconut oilen_US
dc.subjectLauric Aciden_US
dc.titleการใช้ประโยชน์ของกรดลอริกที่ได้จากน้ำมันมะพร้าวen_US
dc.title.alternativeUtilization of Lauric Acid from Coconut Oilen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEM-035 - Phitchayanin Sukrang.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.