Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุพงศ์ ธรรมโชติ-
dc.contributor.advisorนพดล กิตนะ-
dc.contributor.advisorนพดล กิตนะ-
dc.contributor.authorณัฐดนัย แต่งแดน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-04-21T04:17:22Z-
dc.date.available2022-04-21T04:17:22Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78435-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศน์และมีพฤติกรรมการเลือกแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีความจำเพาะแตกต่างกัน ประเทศไทยตั้งอยู่บนพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ และพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะพื้นที่ที่มีความจำเพาะและหลากหลาย การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากชนิดและการใช้พื้นที่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลาน โดยการสำรวจความหลากชนิดในครั้งนี้ใช้วิธีแบบพบเห็นตัว (visual encounter survey) และ และตรวจสอบชนิดโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ระหว่างเดือนกันยายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563 พบจำนวนชนิดของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกทั้งหมด 3 อันดับ 12 วงศ์ 20 สกุล 19 ชนิด และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหมด 1 อันดับ 7 วงศ์ 10 สกุล 10 ชนิด ในถิ่นที่อยู่อาศัยย่อย 5 ลักษณะ โดยมีค่าดัชนีย์ความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon-Weiner Index) ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลาน เท่ากับ 2.354 และ 1.688 ตามลำดับ ซึ่งมีสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่คาดว่าน่าจะต้องมีการทบทวนอนุกรมวิธานใหม่ คือ อึ่งหลังขีด (Micryletta inornata) อึ่งแม่หนาว (Microhyla berdmorei) และจิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ (Sphenomorphus maculatus) นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พื้นที่อยู่อาศัยย่อยด้วยสถิติไคสแควร์ พบว่าพื้นที่อยู่อาศัยย่อยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกใช้พื้นที่ของสัตว์ทั้งสองกลุ่ม กล่าวได้ว่าสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานต่างชนิดกันจะมีพฤติกรรมการเลือกที่อยู่อาศัยย่อยต่างกัน ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่นำไปประยุกต์ใช้ในแนวทางเพื่อการจัดการพื้นที่และอนุรักษ์ชนิดพันธุ์สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ และอาจขยายแนวทางการอนุรักษณ์ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศไทยที่มีลักษณะใกล้เคียงกับเส้นทางศึกษาธรรมชาติในพื้นที่ห้วยฮ่องไคร้ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeAmphibians and reptiles play an important role in ecosystem and their choosing habitats with different specificities. In Thailand, a conservation area of Huay Hong Khrai Royal Development Study Center in Chiang Mai Province is a unique geological and ecological characters. In this study, species diversity and habitat utilization were obtained by visual encounter survey and line transect during September 2019 – February 2020. The result of this study revealed moderated level of diversity presenting in Shannon-Weiner Index of amohibian and reptile communities as 2.354 and 1.688 respectively. Among the amphibians found in this study, it is also possible that some of them need to revisit on taxonomy e.g. Inorrate chorus frog (Micryletta inornata), Berdmore’s chorus frog (Microhyla berdmorei) and Maticulated forest skink (Sphenomorphus maculatus). In addition, the data of habiat usage were analyzed by using Chi-Square statistic showed there are relationships between type of microhabitat and behavior of choosing the microhabitat of amphibians and reptiles. Specifically, amphibians and reptiles with different species have different preference for the microhabitats. Result from this study could be used as the basic knowledge and applied for conservation implication of amphibians and reptile habitats in Conservation area of Huay Hong Khrai Royal Development Study Center Chiang Mai Province and other reserve areas in Thailand. Keywords: Amphibians, Reptiles, Microhabitat, Diversityen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก -- ไทย -- เชียงใหม่en_US
dc.subjectสัตว์เลื้อยคลาน -- ไทย -- เชียงใหม่en_US
dc.subjectความหลากหลายของสัตว์en_US
dc.subjectAmphibians -- Thailand -- Chiang Maien_US
dc.subjectReptiles -- Thailand -- Chiang Maien_US
dc.subjectAnimal diversityen_US
dc.titleความหลากชนิดและการใช้พื้นที่ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในพื้นที่อนุรักษ์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSpecies Diversity and Habitat Use of Amphibians and Reptiles In Conservation area of Huay Hong Khrai Royal Development Study Center Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-BIO-012 - Nutdanai Taengdan.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.