Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสริสา ณ ป้อมเพ็ชร์-
dc.contributor.authorอัมรินทร์ อะโน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-22T09:39:35Z-
dc.date.available2022-06-22T09:39:35Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78915-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันได้มีการศึกษาค้นคว้าหายาปฏิชีวนะชนิดใหม่ๆมากมาย เนื่องจากจุลชีพได้มีการพัฒนาเพื่อ ต้านทานต่อยาปฏิชีวนะรูปแบบเดิมที่มีอยู่ในปัจจุบัน อนุภาคนาโนทองคำ (gold nanoparticle, AuNP) ได้ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการค้นคว้าหาสารยับยั้งจุลชีพ โดยมีรายงานว่าอนุภาคทองนาโนแสดงประสิทธิภาพสูง ในการยับยั้งและทำลายจุลชีพได้ ในงานวิจัยนี้เรามุ่งเน้นไปที่การสังเคราะห์อนุภาคทองนาโนด้วยสารชีว โมเลกุลจากเชื้อรา Aspergillus niger เพื่อนำมาทดสอบประสิทธิภาพการต้านจุลชีพของอนุภาคนาโนทองคำที่ สังเคราะห์ได้ การสังเคราะห์นี้เป็นวิธีการสังเคราะห์อนุภาคนาโนทองคำโดยวิธีการทางชีวภาพซึ่งใช้ต้นทุนน้อย และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าการสังเคราะห์ อนุภาคนาโนทองคำด้วยวิธีการทางเคมี อนุภาคนา โนทองคำที่สังเคราะห์ได้ถูกนำไปตรวจสอบลักษณะคุณสมบัติจากหลายเทคนิค ได้แก่ การส่องด้วยกล้อง จุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (transmission electron microscope, TEM) การใช้เทคนิค dynamic light scattering (DLS) เพื่อวัดขนาดอนุภาค (zeta sizer) การวัดค่าศักย์ซีต้า (zeta potential) และการวัด ค่าการดูดกลืนแสงด้วย UV-visible spectrophotometry จากการศึกษาพบว่าอนุภาคนาโนทองคำมีขนาด เฉลี่ยอยู่ที่ 76.22 นาโนเมตร มีรูปร่างเป็นทรงกลม สม่ำเสมอ มีค่าศักย์ซีต้าเท่ากับ -18 มิลลิโวลต์ และพบว่า อนุภาคนาโนทองคำมีการดูดกลืนช่วงความยาวคลื่นที่ 550 – 570 นาโนเมตร วัดค่าการดูดกลืนแสงสูงสุดได้ เท่ากับ 0.055 ที่ความยาวคลื่น 569 นาโนเมตร จากนั้นได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพในการเป็นสารยับยั้งจุล ชีพของอนุภาคนาโนทองคำด้วยวิธี agar well plate assay กับจุลชีพทั้งสามชนิด คือ Escherichia coli (ATCC 25922) Staphylococcus aureus (ATCC 6538P) และ Cryptococcus neoformans (ATCC 208821) โดยใช้อนุภาคนาโนทองคำที่ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร 25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ 30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ผลการทดลองพบว่า อนุภาคนาโนทองคำที่ทั้งสามความเข้มข้นไม่มีความสามารถใน การยับยั้ง E. coli (ATCC 25922), S. aureus (ATCC 6538P) และ C. neoformans (ATCC 208821)en_US
dc.description.abstractalternativeCurrently, many studies have been looking for discovering of new antibiotics, as microbes have evolved to resist existing forms of antibiotics. Gold nanoparticle (AuNP) has been an alternative in the research of antimicrobial agents because it exhibits a high efficiency in inhibition and destruction of microorganisms. In this research, we focused on the synthesis of AuNP using biomolecules from Aspergillus niger. This biosynthesis of AuNP is cost effective and environmental friendly than the chemical method. The characteristics of AuNP were examined by several techniques: transmission electron microscope (TEM), dynamic light scattering (DLS) for zeta-sizer as well as zeta potential, and UV-visible spectrophotometry. A uniform spherical shape of AuNP with a zeta potential of -18 mV was reported. The UV-vis absorption wavelength ranged from 550 - 570 nm with the maximum absorbance 0.055 at 569 nm. An antimicrobial efficacy of AuNP was evaluated using agar-well plate assay against three microorganisms: Escherichia coli (ATCC 25922), Staphylococcus aureus (ATCC 6538P) and Cryptococcus neoformans (ATCC 208821). The AuNP concentration at 20, 25, and 30 μg/ml were tested in this study, and the result showed no antimicrobial activity against all three microorganisms.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectสารต้านจุลชีพen_US
dc.subjectทองen_US
dc.subjectNanoparticlesen_US
dc.subjectGolden_US
dc.titleการสังเคราะห์อนุภาคทองนาโนด้วยวิธีการทางชีวภาพและการประยุกต์ใช้ในการต้านจุลชีพen_US
dc.title.alternativeBiosynthesis of gold nanoparticles and its application in antimicrobial activityen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MICRO-004 - Ammarin Ano.pdf39.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.