Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79079
Title: Effect of line application on action and coping plans on exercise adherence and functional performance for older adults with knee pain in suburban area of Bangkok Metropolis, Thailand : a Quasi experimental study
Other Titles: ผลของโปรแกรมไลน์ในการดำเนินการและการวางแผนรับมือ เพื่อให้เกิดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ในผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าในเขตชานเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย: การศึกษาแบบกึ่งทดลอง
Authors: Pattaraporn Piwong
Advisors: Ratana Somrongthong
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Subjects: Exercise for older people
Older people -- Diseases -- Treatment
Knee
การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ -- โรค -- การรักษา
ข้อเข่า
Issue Date: 2021
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The known advantage of exercise for older adults who had knee pain is limited by low adherence to an exercise program. LINE application on action and coping plans do improve exercise adherence, knee functional performance and reduce knee pain. This quasi-experimental study determined the effect of LINE application on action and coping plans on exercise adherence, self-efficacy for exercise (SEE) , specific self-efficacy (task, maintenance, recovery), functional performance including knee range of motion (ROM), time up and go (TUG), 30-second chair stand (30CST) , knee outcome for activities of daily living (KOS-ADLS) and knee pain scale among older adults with knee pain in suburban area of Bangkok Metropolis, Thailand after implementation program. Total participants were 86 at aged 50-65 years and they were divided into 2 groups: intervention group (received action and coping plans with LINE application program) and control group (received usual care) with 43 participants in each group. Participants undertook 14 weeks period of the study program. All outcomes were measured at baseline and post-test except exercise adherence was collected after finishing the intervention program via exercise diary. Data were analyzed statically. The results demonstrated that there was a significant difference between 2 groups in all outcomes ( P<0.05). Also, the study findings revealed that an intervention group improved significantly in all outcomes within-group after completed the study program while the control group has only one measure (SEE) was significantly difference within-group (P<0.05). Moreover, applying technology from application on a smartphone as LINE combination with action and coping plans was found effective to enhance older adults’ adherence, motivate and encourage them to become adherer to exercise and decrease knee pain which it advantages to prevent them from knee pain and disability. 
Other Abstract: การออกกำลังกายมีประโยชน์อย่างมาก เพียงแต่ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าจะมีอาการออกกำลังกายอย่างไม่สม่ำเสมอและต่อเนื่อง การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมไลน์ในการดำเนินการและการวางแผนรับมือต่อการยึดมั่นในการเกิดการออกกำลังกาย,ความมั่นใจในความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย,ความมั่นใจในความสามารถของตนเฉพาะด้าน (ประกอบด้วยความมั่นใจในความสามารถของตนในการทำตามภารกิจที่ตั้งไว้,ความมั่นใจในความสามารถในการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมของตนและความมั่นใจในความสามารถของตนในการปรับตัวหลังจากเจออุปสรรคต่างๆ),ความสามารถในการทำงานของข้อเข่า (ประกอบด้วย พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อเข่า(ROM),ความสามารถในการทรงตัว (TUG),ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา(30CST), ความสามารถของข้อเข่าในการเคลื่อนไหวต่อการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน) และระดับอาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าในเขตชานเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า จำนวนทั้งหมด 86 คน อายุระหว่าง 50-65 ปี แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 43 คนเข้าร่วมในการวิจัยเป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังด้วยแบบสอบถามที่มีโครงสร้างและการทดสอบความสามารถในการทำงานของข้อเข่า ในส่วนของการยึดมั่นในการเกิดการออกกำลังกายเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยสมุดบันทึกการออกกำลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณาและสถิติอ้างอิง ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองมีการยึดมั่นในการเกิดการออกกำลังกาย,ความมั่นใจในความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย,ความมั่นใจในความสามารถของตนเฉพาะด้านและความสามารถในการทำงานของข้อเข่าที่เพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) นอกจากนี้ระดับอาการปวดเข่าในกลุ่มทดลองลดลงต่ำกว่าก่อนการทดลอง และลดต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) และภายในส่วนของควบคุม ผลการศึกษายังพบอีกว่าความมั่นใจในความสามารถของตนเองในการออกกำลังกายก่อนและหลังมีการเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย และมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) ดังนั้นโปรแกรมที่ใช้ในการศึกษานี้ซึ่งมีการใช้โปรแกรมไลน์ร่วมกับการดำเนินการและการวางแผนรับมือสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องในผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า เพื่อลดอาการปวดเข่าในระยะยาวและป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในอนาคต
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2021
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79079
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.346
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2021.346
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5779165053.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.