Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorShanop Shuangshoti-
dc.contributor.advisorThiravat Hemachudha-
dc.contributor.advisorAbhinbhen Saraya Wasontiwong-
dc.contributor.authorPhanni Wanthong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:15:12Z-
dc.date.available2022-07-23T04:15:12Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79515-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021-
dc.description.abstractSepsis and septic shock are leading causes of deaths in hospitals. The most common cause of blood stream infection is bacteria. To reduce mortality, a rapid and accurate bacterial detection in sepsis patients is essential. It is necessary to identify pathogens based on their species for appropriate choice of antibiotics. In this study, we aimed to improve the pre-PCR procedure for detection of bacteria in blood samples and to compare the performance between real-time PCR, conventional PCR and blood culture. Blood samples from 16 sepsis patients were separated into whole blood, plasma, buffy coat and white blood cell. Bacterial nucleic acid was extracted and used to identify whether it is gram-positive or gram-negative bacteria using conventional PCR and real-time PCR with TaqMan probes. Two samples, whole blood and plasma components, were positive by real-time PCR using this protocol but negative by blood culture and conventional PCR. Results were in record with clinical data and therapeutic response. The limit of detection of real-time PCR with probe is 1,000 copies/µl of plasmid DNA. Therefore, blood separation is necessary to improve sensitivity of real-time PCR and TaqMan probe in identifying gram-positive and gram-negative bacteria this may be beneficial for early detection and proper antibiotic selection and may be useful to treat patients with sepsis.-
dc.description.abstractalternativeภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด และ ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ มีการดำเนินโรคอย่างรวดเร็ว และ รุนแรง เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด ที่มีความรวดเร็ว และ มีความจำเพาะ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงขั้นตอนก่อนการตรวจหาเชื้อ ด้วยวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ และ ประเมินประสิทธิภาพ วิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ เทียบกับ วิธีพีซีอาร์ปกติ และ วิธีเพาะเชื้อจากเลือด  โดยศึกษาในตัวอย่างเลือดผู้ป่วย 16 ราย ที่มีอาการทางคลินิกของภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด โดยการแยกส่วนประกอบของเลือด เป็นเลือดครบส่วน น้ำเลือด บัฟฟีโคท และ เซลล์เม็ดเลือดขาว รวมทั้งหมด 64 ตัวอย่าง ก่อนเข้าสู่ขั้นตอนสกัดสารพันธุกรรม และ ตรวจหาเชื้อแบคทีเรียด้วยวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ และ พีซีอาร์ปกติ ผลการศึกษาพบว่า วิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ สามารถตรวจหาเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และ แบคทีเรียแกรมลบ ได้อย่างจำเพาะ และ มีความไวกว่าวิธีพีซีอาร์ปกติ โดยที่สามารถพบเชื้อแบคทีเรียที่ปริมาณ 1,000 copies/µl และ เปรียบเทียบผล ของวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ กับ วิธีมาตรฐานการเพาะเชื้อจากเลือด พบเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ด้วยวิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ ในตัวอย่างน้ำเลือด และ เลือดครบส่วน 2 ตัวอย่าง แต่ตรวจไม่พบด้วยวิธีการเพาะเชื้อจากเลือด และ พีซีอาร์ปกติ และ 62 ตัวอย่างไม่พบเชื้อด้วยวิธีทั้งหมด ทั้งนี้ตรงตามลักษณะอาการของผู้ป่วย และ วิธีการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทุกประการ ดังนั้น วิธีแยกส่วนประกอบของเลือดเพื่อปรับปรุงขั้นตอนก่อนพีซีอาร์ ร่วมกับ วิธีเรียลไทม์พีซีอาร์ จึงเป็นอีกทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือดทางห้องปฏิบัติการ ด้วยความรวดเร็วขึ้น มีความจำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก แบคทีเรียแกรมลบ ช่วยในการเลือกยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ให้มีการพยากรณ์โรคที่ดีขึ้น และ ลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย -
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.266-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectSepticemia-
dc.subjectBacteria -- Detection-
dc.subjectเลือดติดเชื้อ-
dc.subjectแบคทีเรีย -- การตรวจหา-
dc.titleModified pre-PCR protocol for detection of bacteria in blood samples of patients with sepsis-
dc.title.alternativeการปรับปรุงขั้นตอนก่อนการทำพีซีอาร์ เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียในตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineMedical Sciences-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.266-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6074072030.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.