Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80578
Title: Plasma-induced poly(acrylic acid) catalyst nanoparticles coated polyvinylidene fluoride hollow fiber membrane
Other Titles: การเหนี่ยวนำโพลีไวนิลลิดีนฟลูออไรด์เบรนแบบเส้นใยกลวงด้วยพลาสมาร่วมกับอนุภาคนาโนคะตะลิสต์
Authors: Nattaya Sonsiri
Advisors: Sermpong Sairiam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Povidone
Membranes (Technology)
เมมเบรน (เทคโนโลยี)
โพวิโดน
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Hydrophilic of polyvinylidene fluoride (PVDF) hollow fiber membrane was enhanced through pulse inductively couple plasma (PICP) induced poly(acrylic acid) (PAA) polymerization followed by titanium dioxide nanoparticle (TiO₂-NPs) and zinc oxide nanoparticles (ZnO-NPs) coated. The morphology, chemical composition and hydrophilicity of modified membranes were characterizaed by SEM, EDS, and water contact angle. The analysis of SEM and EDS were found. The TiO₂-NPs and the mix solution of TiO₂-NPs and ZnO-NPs were successfully coated on membrane surface, but ZnO-NPs were rarely coated. As a result, the water contact angle of the membrane was coated with TiO₂-NPs was less than that of the membrane was coated with ZnO-NPs. The mixed solutions of TiO₂-NPs and ZnO-NPs, which were reduced from the original membrane was 77.9° to 74.1°. Also, when testing the water permeability, the membrane was coated with TiO₂-NPs and ZnO-NPs. The highest water permeability was 23.18 L/m²·min. The treated wastewater with Reactive Red 239 at a concentration of 100 mg/L and compared with the three pH values; 2, 4 and 6. The results found that the membrane was coated with TiO₂-NPs, ZnO-NPs, and the mix solution of TiO₂- NPs and ZnO-NPs did not found significantly changed.
Other Abstract: ความชอบน้ำของโพลีไวนิลลิดีนฟลูออไรด์เมมเบรนแบบเส้นใยกลวงถูกพัฒนาขึ้นโดยการกระตุ้นด้วยพลาสม่าและกรดอะคริลิก ตามด้วยการเคลือบอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ไดออกไซด์ ส่งผลให้ลักษณะสัณฐานวิทยา องค์ประกอบทางเคมี และความชอบน้ำเปลี่ยนไป โดยสามารถวิเคราะห์ได้จากผลของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยธาตุและค่ามุมสัมผัสน้ำของเมมเบรน พบว่า อนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ถูกเคลือบบนผิวเมมเบรนได้สำเร็จ แต่อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ถูกเคลือบน้อยมาก ทำให้ส่งผลถึงค่ามุมสัมน้ำของเมมเบรนที่มีอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์เคลือบอยู่มีค่าน้อยกว่าเมมเบรนที่ถูกเคลือบด้วยอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์และสารละลายผสมของอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ซึ่งลดลงจากเมมเบรนดั้งเดิม 77.9° ถึง 74.1° อีกทั้งเมื่อนำมาตรวจสอบค่าการซึมผ่านน้ำ พบว่า เมมเบรนที่ถูกเคลือบด้วยสารละลายผสมของอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ มีค่าการซึมผ่านน้ำมากที่สุด คือ 23.18 ลิตรต่อตารางเมตรต่อนาที และเมื่อนำมาบำบัดน้ำเสียสีย้อมรีแอคทีฟเรด 239 ที่ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิต และทำการเปรียบเทียบกับค่าความเป็นกรดด่าง 3 ค่า คือ 2,4 และ 6 พบว่า เมมเบรนที่ถูกเคลือบด้วยอนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์ ซิงค์ออกไซด์ และสารละลายผสมของอนุภาคไททาเนียมไดออกไซด์และซิงค์ออกไซด์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในการลดความเข้มข้นของน้ำเสียสีย้อม
Description: In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Department of Environmental Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University Academic Year 2020
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80578
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-ENVI-004 - NATTAYA SONSIRI.pdf28.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.