Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83057
Title: Effect of third metal on the performance of PT/WOx/AL2O3 for hydrogenolysis of glycerol
Other Titles: ผลกระทบของโลหะตัวที่สามบน Pt/WOx/Al2O3 ต่อประสิทธิผลสำหรับปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไลซิสของกลีเซอรอล
Authors: Therasak Tapanya
Advisors: Piyasan Praserthdam
Supareak Praserthdam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Hydrogenolysis reaction is employed to convert glycerol to valuable chemicals, especially 1,3-Propanediol. In this study, the performance, including activity, selectivity, and stability, are investigated for the third metal promoted Pt/WOx/Al2O3 catalyst. The catalysts were prepared using the wet and wetness impregnation method for Pt/WOx/Al2O3 and M/Pt/WOx/Al2O3, respectively. The morphological properties of catalysts were examined characterized by SEM-EDX, BET, CO-chemisorption techniques. The catalytic stability was tested as a second-round hydrogenolysis reaction that the deactivation is determined by BET, CO-chemisorption, XRD, ICP, and TGA analysis. The results indicated that the addition of the third metal on Pt/WOx/Al2O3 catalyst improves activity while the Re, Rh, and HSiW doped show better stability in term glycerol conversion. Nevertheless, the Re, Rh, and HSiW can improve the catalyst deactivation through Pt sintering, Pt leaching, and coking. The improvement is explained by stronger interaction between Pt and Al2O3 after the Re, Rh, and HSiW were added. Additionally, the third metal can against the coke formation on Pt metal as a favoured site by the moveability coke to Al2O3 support.
Other Abstract: ปฏิกิริยาไฮโดรจีโนไลซิสใช้เพื่อเปลี่ยนกลีเซอรอลเป็นสารเคมีที่มีค่า โดยเฉพาะ 1,3-โพรเพนไดออล ในการศึกษานี้ ประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงความสามารถในการเปลี่ยนแปลงกลีเซอรอล ค่าการเลือกเกิด และความเสถียรภาพ สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินั่ม-ทังสเตนออกไซด์บนอลูมินาที่ถูกพัฒนาด้วยโลหะที่สาม ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกเตรียมโดยใช้วิธีการเคลือบฝังแบบเปียกและเปียกพอดี โดยการศึกษาคุณสมบัติทางสัณฐานวิทยาของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิค ภาพถ่ายทางสัณฐานวิทยา การดูดซับทางกายภาพต้วยไนโตรเจน การดูดซับทางเคมีด้วยคาร์บอนมอนอออกไซด์ ความเสถียรภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาได้รับการทดสอบผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจิโนไลซิสรอบที่สองซึ่งศึกษาผลการเสื่อมสภาพโดยการวิเคราะห์ การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ อินดัคทีพลีคัพเพิลพลาสมา และเทคนิคโปรแกรมอุณหภูมิเพื่อทดสอบการออกซิเดชัน ผลการวิจัยพบว่าการเพิ่มโลหะที่สามบนตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินั่ม-ทังสเตนออกไซด์บนอลูมินา ช่วยเพิ่มค่าการเปลี่ยนแปลงกลีเซอรอล ในขณะที่ รีเนียม โรเดียม และซิลิโคทังสติก แสดงให้เห็นถึงความเสถียรภาพที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม รีเนียม โรเดียม และซิลิโคทังสติก สามารถปรับปรุงการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาผ่านการซินเทอริ่งของแพลทินัม การหลุดออกของโลหะ และการเกิดโค๊ก การศึกษานี้อธิบายได้ด้วยการเกาะที่แข็งแรงขึ้นระหว่างแพลทินั่มและอะลูมิน่า หลังจากเติม รีเนียม โรเดียม และซิลิโคทังสติก นอกจากนี้ โลหะที่สามสามารถต้านทานการเกิดโค้กบนโลหะแพลทินั่มได้โดยการเคลื่อนที่ของโค้กจาก แพลทินั่มไปบนตัวรองรับอะลูมิน่า
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83057
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1357
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.1357
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6270125721.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.