Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83642
Title: ความหลากหลายของแบคทีเรีย Melissococcus plutonius ที่ก่อโรคตัวอ่อนเน่ายูโรเปียน (European foulbrood disease) ในผึ้ง : รายงานผลการดำเนินงาน
Other Titles: Diversity of Melissococcus plutonius bacteria causing European foulbrood diseasee
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Authors: จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ผึ้ง
ผึ้ง -- ตัวอ่อน
โรคเกิดจากแบคทีเรียในสัตว์
Bees
Bees -- Embryos
Bacterial diseases in animals
Issue Date: 2561
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: Melissococcus plutoniusเป็นแบคทีเรียก่อโรคตัวอ่อนเน่ายูโรเปียนในตัวอ่อนของผึ้ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ พบว่าสามารถจัดจำแนกโซเลตของ M. plutoniusออกได้เป็น 2 ชนิด คือ typical M. plutoniusและ atypical M. plutoniusโดยทั้ง 2 ไอโซเลตมีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งทางด้าน phenotype และพันธุกรรม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าทั้ง 2 ไอโซเลตควรมีกลไกในการก่อโรคที่แตกต่างกันและส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงผึ้งที่แตกต่างกัน ในประเทศไทย โรคตัวอ่อนเน่ายูโรเปียนส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อฟาร์มผึ้งทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ในงานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษาการกระจายตัวของ M. plutoniusโดยเริ่มเก็บตัวอย่างผึ้งโพรง (Apis cerana), ผึ้งมิ้ม (A. florea) และผึ้งพันธุ์ (A. mellifera) จากการใช้เทคนิคต่าง ๆ ทางจุลชีววิทยาและ PCR พบว่ามีการปนเปื้อนของ M. plutonius ในผึ้งตัวเต็มวัยโดยที่ผึ้งไม่ได้แสดงอาการของโรคเลย ต่อจากนั้นจึงได้ทำการตรวจสอบ sequence types (STs) แต่ละไอโซเลตที่ได้ด้วยการทำ multilocus sequence typing (MLST)
Other Abstract: Melissococcus plutonius is a widespread bacterial pathogen causing European foulbrood (EFBEFB) disease of honeybee larvae larvae. Recently, MM. plutonius isolates were separated into two types, typical and atypical MM. plutonius , which have different phenotypic and genetic characterization characterization. These could be implied that typical and atypical M. plutonius could have differences in pathogenic mechanisms and various effects on apiculture. In Thailand, EFB can cause extensive losses in both amateur and commercial apiaries. In this study, the native Asian honeybees (Apis cerana, A. florea and A. mellifera) were randomly collected in Thailand. With rapid and feasible technique, we were identified M. plutonius from adult bees without clinical symptoms by PCR assays and determined sequence types (STs) of each isolated M. plutonius using the multilocus sequence typing (MLST).
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83642
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanpen_Ch_Res_2561.pdf12.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.