Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83649
Title: การกระจายตัวของนกในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชและพื้นที่ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : รายงานผลการดำเนินงาน
Other Titles: Bird distribution in plant genetic conservation areas and areas, under the center of learning network for the region, Chulalongkorn University
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Authors: พงชัย หาญยุทธนากร
ศักรินทร์ แสนสุข
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: นก -- ไทย -- น่าน
นก -- ไทย -- เกาะแสมสาร (ชลบุรี)
นก -- ไทย -- สระบุรี
Bird -- Thailand -- Nan
Bird -- Thailand -- Samaesarn Island (Chon Buri)
Bird -- Thailand -- Saraburi
Issue Date: 2561
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: จากการสำรวจการกระจายตัว และความหลากหลายของนกใน 3 พื้นที่ ได้แก่ เกาะแสมสาร สถานีวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีไหล่น่าน และ โครงการพัฒนาที่ดินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สระบุรี พบชนิดของนกทั้งหมด 98 ชนิด เกาะแสมสาร พบนก 84 ชนิด ส่วนสถานีวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีไหล่น่าน พบนก 27 ชนิด พื้นที่เกาะแสมสารจะมีอัตราส่วนของนกอพยพมากที่สุด คือ 55% ในขณะที่สถานีวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีไหล่น่านมีอัตราส่วนของนกอพยพ 4% ข้อมูลการกระจายตัวของนกในพื้นที่เกาะแสมสารแสดงให้เห็นว่านกมีการกระจายตัวไม่สม่าเสมอทั่วทั้งเกาะ ส่วนใหญ่จะสามารถพบนกในบริเวณของเกาะที่มีร่มเงา หรือบริเวณที่มีแหล่งน้าจืด ในส่วนของข้อมูลการกระจายตัวของนกบริเวณพื้นที่ในจังหวัดสระบุรีและจังหวัดน่านนั้นยังต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น
Other Abstract: Bird distribution and diversity were studied in 3 areas, Samaesarn Island, Lai Nan Research and Technology Transfer Station (Lai Nan RTTS) and Chulalongkorn University. 98 species of birds were identified in this project, 84 on Samaesarn Island, 27 in Lai Nan RTTS. The proportion of migratory bird was the highest on Samaesarn Island (55%) compared with 4% in Lai Nan RTTS. The distribution data from Samaesarn Island showed that birds were not evenly dispersed. They were often found in shade areas or close to freshwater ponds. More distribution data in Lai Nan RTTS and CU-LDP were needed before any conclusion can be made.
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83649
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongchai_Ha_Res_2561.pdf25.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.