Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83761
Title: การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรปะการังในพื้นที่ร่วมสนองพระราชดำริ ภายใต้ โครงการ อพ.สธ. เกาะทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีที่ 1-ความหลากหลายของปะการังและความสมบูรณ์ของแนวปะการัง : รายงานผลการดำเนินงาน
Other Titles: Conservation and utilization of coral reefs in the area of RSPG project at Ko Talu, Prachuap Khiri Khan Province: Year 1-coral diversity and reef heath
Authors: วรณพ วิยกาญจน์
สุชนา ชวนิชย์
ศานิต ปิยพัฒนากร
กรณ์รวี เอี่ยมสมบูรณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ปะการัง
การอนุรักษ์แนวปะการัง
Corals
Coral reef conservation
Issue Date: 2560
Publisher: คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ทำการศึกษาการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรปะการังในพื้นที่แนวปะการังเกาะทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยในปีที่ 1 เป็นการศึกษาความหลากหลายของทรัพยากรปะการัง พร้อมทั้งศึกษาความสมบูรณ์ของแนวปะการังในพื้นที่ เพื่อหาปะการังกลุ่มเด่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศในปีต่อๆ ไป อันเป็นการเพิ่มทางเลือกใหม่ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูแนวปะการังในพื้นที่ จากการศึกษาครั้งนี้ พบความหลากหลายของชนิดปะการังมีมากกว่า 50 ชนิด บริเวณที่พบความหลากหลายของปะการังสูงสุดอยู่ที่บริเวณฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะ (47±8 ชนิด) ขณะที่พบความหลากหลายต่ำสุดที่บริเวณฝั่งตะวันตกของเกาะ (19±3 ชนิด) โดยปะการังชนิดเด่น ได้แก่ ปะการังโขด Porites รองลงมาได้แก่ ปะการังลายดอกไม้ Pavona ปะการังวงแหวน Favia ปะการังสมองร่องลึก Platygyra เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบสถานภาพแนวปะการังพบว่า แนวปะการังทั้ง 4 บริเวณมีสัดส่วนปะการังเป็นที่ 0.57-0.73 ซึ่งมีค่าสูงกว่าปะการังตาย (0.27-0.43) จัดเป็นพื้นที่ที่มีแนวปะการังในสภาพสมบูรณ์ดี
Other Abstract: The conservation and utilization of coral reefs at Ko Talu, Prachuap Khiri Khan Province was investigated by studying coral diversity and reef status in Year 1. The result showed that more than 50 coral species were found. The highest diversity was found in the southeast reef of Ko Talu (47±8), while the lowest was in the west reef area (19±3). The dominant species was Porites, followed by Pavona, Favia, Platygyra etc. The ratio of Live Coral (0.57-0.73) was higher that Dead Coral (0.27-0.43), which mean reef status was in good condition. In final, 1 or 2 species of coral from dominant group was selected for study the gamete development for coral cultivation using sexual reproduction in the next year.
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83761
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Science_Voranop Prajuabkhereekhun_2560.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)995.66 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.